องค์ประกอบ e-Learning และ WBI

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

Interactive E-learning
โดย.. ไชยยงค์ กงศรี ฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2553
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) การพัฒนารายวิชาหลักสูตรและการสอน ผ่านเว็บสำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี (ภาษาอังกฤษ) DEVELOPMENT.
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ADDIE model หลักการออกแบบของ
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
 การสอนแบบอภิปราย.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction)
สื่อการสอนที่ทำให้การสอนงานคลินิกน่าสนใจ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
เกอร์ลาชและอีไล(Gerlach and Ely)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
หัวข้อโครงงาน สื่อการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ : มาตรฐานอาคารเขียว
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
ความรู้เบื้องต้น การออกแบบ Media.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ คุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
(Competency Based Curriculum)
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การสร้างสื่อ e-Learning
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถ นำไปประยุกต์ในด้านต่างๆ เสนอโดย ด. ช. ปพนธีร์ สิทธิคณากูล ม.1/6 เลขที่ 12 ด. ช. ศุภกร พูลโภคะ ม.1/6 เลขที่ 11 ด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบ e-Learning และ WBI

ทั้ง e_Learning และ WBI ต่างมีองค์ประกอบต่าง ๆ ที่สำคัญคล้ายคลึงกัน องค์ประกอบด้านเนื้อหา เช่น คำแนะนำการเรียน คำประกาศ แหล่งความรู้ ห้องเรียน ฯลฯ องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการรายวิชา องค์ประกอบด้านช่องทางการติดต่อสื่อสาร เช่น ในลักษณะเวลาเดียวกัน กับต่างเวลา องค์ประกอบด้านการทดสอบและการประเมินผล

ประเภทของ e-Learning courseware

จากองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบหลักที่ได้กล่าวมา ได้แก่ เนื้อหา (Content) ระบบบริหารจัดการรายวิชา (Learn Management System) โหมดการติดต่อสื่อสาร (Modes of Communication) แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ

เนื้อหาสำคัญที่สุด เพราะ ผู้เรียนจะต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ในการศึกษาเรียนรู้ คิดค้น วิเคราะห์ อย่างมีหลักการและเหตุผลด้วยตนเอง จากเนื้อหา สารสนเทศที่ผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ให้ ในความหมายของเนื้อหาแล้ว จะครอบคลุมความหมายค่อนข้างกว้าง คือ จะหมายถึง องค์ประกอบต่าง ๆ ทั้งหมดที่ช่วยให้เนื้อหาของ e-Learning มีความสมบูรณ์ และมีความเหมาะสมสำหรบการนำไปใช้ เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง (self-contained)

หัวใจของเนื้อหา อยู่ที่ คอร์สแวร์ (บทเรียนทางคอมพิวเตอร์) คอร์สแวร์หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (คอมพิวเตอร์) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนรูปแบบการนำเสนอบทเรียนจากเอกสารตำรา ให้อยู่ในรูปของบทเรียนทางคอมพิวเตอร์ โดยเน้นการออกแบบ ซึ่งใช้ข้อได้เปรียบของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอมัลติมีเดีย และการให้ผลป้อนกลับโดยทันทีแก่ผู้เรียน โดยผู้เรียนมีความยืดหยุ่นในการเข้าถึงเนื้อหา และมีการออกแบบกิจกรรมที่เน้นการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหา

กระบวนการในการเรียนการสอน (Instructional Process) ส่วนใหญ่แล้วคอร์สแวร์ไม่ได้ถูกให้ความสนใจในกระบวนการเรียนการสอนมากนัก เพราะนิยมออกแบบในลักษณะของสื่อนำเสนอแทนการออกแบบในลักษณะคอร์สแวร์เชิงโต้ตอบ (Interactive) ซึ่งสื่อนำเสนอในที่นี้คือ การใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการนำเสนอเนื้อหา โดยไม่ได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อเท่าใดนัก ในขณะที่คอร์สแวร์เชิงโต้ตอบนั้น จะเน้นการออกแบบที่คำนึงถึงการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับสื่อ เพื่อเป้าหมายสำคัญอันได้แก่ การเรียนรู้อย่างมีความหมาย (meaningful learning) สำหรับตัวผู้เรียนเอง ทั้งนี้เหตุผลส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะนักออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์ไม่มากนักที่ทราบว่า ในการออกแบบคอร์สแวร์นั้น จำเป็นที่จะต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการให้การเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งการออกแบบขั้นตอนในการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์ก็คล้ายคลึงกันกับการออกแบบขั้นตอนการเรียนการสอนในชั้นเรียนนั่นเอง กล่าวคือ จะต้องประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งคอยช่วยผู้เรียนแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

กระบวนการในการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์เพื่อใช้สำหรับ E_Learning คอร์สแวร์ ได้ 4 ขั้น ดังนี้ ขั้นการนำเสนอเนื้อหาความรู้ ขั้นการให้คำแนะนำ ขั้นการฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชำนาญและความคงทนในการเรียนรู้ ขั้นการประเมินผลการเรียนการสอน

ขั้นการนำเสนอเนื้อหาความรู้ ผู้สอนจะต้องนำเสนอเนื้อหาความรู้ใหม่แก่ผู้เรียน ซึ่งสามารถกระทำได้มากมายหลายลักษณะ นอกจากนี้ในการสอนทักษะต่าง ๆ อาจมีวิธีสาธิตพร้อมการบรรยายเพื่อเป็นตัวอย่างให้ผู้เรียนศึกษาและทำตาม ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งในการนำเสนอเนื้อหา นอกจากนี้ผู้เรียนมักต้องการตัวอย่างมากกว่าหนึ่งตัวอย่างในการทำความเข้าใจก่อนที่จะสามารถนำกฎหรือทักษะต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้

ขั้นการให้คำแนะนำ ขั้นนี้เป็นขั้นตอนที่เกิดการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมากขึ้น จากการที่ผู้เรียนได้ศึกษาจากการนำเสนอเนื้อหาในคอร์สแวร์แล้ว ควรออกแบบให้ผู้เรียนปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งภายใต้การความคุมของผู้สอน ซึ่งจะเป็นอะไรนั้นขึ้นอยู่กับธรรมชาติของเนื้อหา

ขั้นการฝึกฝนเพื่อให้เกิดความชำนาญและความคงทนในการเรียนรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนมีบทบาทเป็นสำคัญ แม้ว่าผู้สอนจะทำหน้าที่คอยตรวจสอบผู้เรียน และคอยแก้ไขความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น แต่ขั้นนี้จะเน้นการฝึกฝนของผู้เรียนโดยผู้สอนจะคอยตรวจสอบและให้คำแนะนำสั้น ๆ เท่านั้น

ขั้นการประเมินผลการเรียนการสอน การที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้นจริงหรือไม่อย่างไร จำเป็นที่จะต้องมีการประเมินผลการเรียนการสอน