บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
Advertisements

กลุ่มคนในสังคมสุโขทัย
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
กฎหมายเบื้องต้น.
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
บทที่ 2 ขอบเขตการใช้กฎหมาย
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ตัวเลขไทย.
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
ฐานข้อมูลราชกิจจานุเบกษา
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
หนู...ไม่มีเอกสารทางทะเบียนราษฎรแล้วจะได้เรียนหนังสือไหมคะ?
History มหาจุฬาฯ.
YOUR SUBTITLE GOES HERE
เงินรายได้แผ่นดิน.
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
ลู่ทางในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน โดย อ. ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
ที่มา และแนวคิดสิทธิมนุษยชนใน อารยธรรมไทย รับผิดชอบโดย อ. ทศพลทรรศนกุลพันธ์
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
จารีตประเพณีและพหุนิยมทางกฎหมาย
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สิทธิตามกฎหมายของประชาชน สิทธิตาม กฎหมาย บทบัญญัติและผู้เกี่ยวข้อง 1. สิทธิได้รู้ (Right to Know) 1.1 สิทธิได้รู้ตามมาตรา 7 ( เรื่องที่ต้องให้รู้ ) มาตรา.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
Legal Ideology ตัวการกำหนดทิศทางในการใช้กฎหมาย 13 Legal Ideology.
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
วัตถุประสงค์ในการตราพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
จีน ตะวันตกเฉียงเหนือ
ครูจงกล กลาง ชล 1. วิเคราะห์แนวคิด เกี่ยวกับ เหตุการณ์ที่ ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในแต่ ละช่วงสมัย ที่มีผลต่อ พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ ไทยได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง.
การจัดระเบียบทางสังคม ในสังคมอยุธยา
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย

กฎหมาย คือ คำสั่งหรือข้อบังคับของรัฐที่กำหนดขึ้น เพื่อกำหนดความประพฤติของพลเมือง ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ยอมปฏิบัติตามมีความผิด และถูกลงโทษ การบังคับนี้ใช้กับพลเมืองทุกคน ไม่จำกัด อายุ เพศ ชั้น วรรณะ สัญชาติ และกฎหมายจะใช้บังคับตลอดไปจนกว่าจะประกาศยกเลิก

ลักษณะของกฎหมาย ต้องมาจากรัฎฐาธิปัตย์ ต้องเป็นข้อบังคับที่ใช้ได้โดยทั่วไปแก่ทุกคนในประเทศนั้นๆ ต้องใช้ได้ตลอดไป ประชาชนจะต้องปฏิบัติตาม ต้องมีสภาพบังคับ

ที่มาของกฎหมาย บทบัญญัติแห่งกฎหมาย จารีตประเพณี ศาสนา ความเห็นของนักปราชญ์กฎหมาย คำพิพากษาของศาล

ประเภทของกฎหมาย กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน กฎหมายระหว่างประเทศ

ประวัติความเป็นมาของกฎหมายไทย กฎหมายสมัยกรุงสุโขทัย - พ่อขุนรามคำแหงยึดหลักคัมภีร์พระธรรมศาสตร์กับคติไทยน่านเจ้า - จารึกกฎหมายบนศิลาจารึกเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย - กฎหมายกำหนดสิทธิเสรีภาพของบุคคล และหน้าที่ของพลเมือง

กฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยา - ได้รับอิทธิพลจากคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ของพระมโนสาราจารย์ - กฎหมายที่บัญญัติขึ้นมีการเก็บไว้ที่ต่างๆ ห้องเครื่อง พระมหากษัตริย์ทรงอ่าน หอหลวง ขุนนาง ข้าราชการอ่านหรือคัดลอก ศาลหลวง ผู้พิพาษาตุลาการอ่านและนำมาตัดสิน

กฎหมายสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ - ร.1 สะสางกฎหมายใหม่ เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง ได้แก่ ตราราชสีห์ สมุยนายก (มหาดไทย) ตราคชสีห์ สมุหกลาโหม ตราบัวแก้ว ขุนคลัง (ต่างประเทศ) - ร.5 จัดระบบกฎหมายใหม่ ตั้งกระทรวงยุติธรรมและจัดระบบศาลแบบตะวันตก