โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
การบริโภคอย่างอย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทัน และการใช้เวลาว่าง
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การพัฒนาสังคม Social Development 3 : 2 ธ.ค. 54.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
การท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต Tourism For life-Quality Development อ.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมายของชุมชน (Community)
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
(Organizational Behaviors)
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
บทที่ 2 ความหมายและลักษณะของชุมชน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 14 ลักษณะทางประชากรศาสตร์และชั้นทางสังคม
บทที่ 16 ครอบครัว.
ความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกันของประเทศ
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
การใช้รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียน ให้เป็นคนดีของสังคม
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
พ่อของแผ่นดิน.
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข

ลักษณะของสังคมไทย 1. เป็นสังคมเกษตรกรรม 2. มีการศึกษาตํ่า 3. มีความรักความผูกพันในถิ่นกำเนิด 4. ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี 5. มีนิสัยพึ่งพาอาศัยกัน ให้ความสำคัญกับระบบอุปถัมภ์ 6. เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

ลักษณะของสังคมเมือง 1. มีความหนาแน่นของประชากรมาก 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกเป็นแบบทุติยภูมิ 3. มีระดับการศึกษาสูง 4. มีอาชีพหลากหลาย และรายได้สูง 5. มีมาตรฐานการครองชีพสูง 6. มีการแข่งขันกันสูง 7. มีความตื่นตัวทางการเมืองสูง 8. มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเร็ว

ลักษณะของสังคมชนบท 1. มีอาชีพทางการเกษตรกรรมมาก 2. มีการพึ่งพาธรรมชาติมาก 3. ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี 4. มีความสัมพันธ์กันแบบปฐมภูมิ 5. มีชีวิตความเป็นอยู่คล้ายๆ กัน

ลักษณะของสิ่งที่เป็นปัญหาสังคม 1. เป็นสภาวการณ์ที่สมาชิกในสังคมไม่พึงปรารถนา 2. มีผลกระทบต่อคนเป็นจำนวนมาก 3. มีความต้องการที่จะปรับปรุงแก้ไข

ตัวอย่างที่เป็นปัญหาสังคมไทย ได้แก่ 􀂃 ปัญหาความยากจน 􀂃 ปัญหาการกระจายรายได้ 􀂃 ปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง 􀂃 ปัญหายาเสพติดให้โทษ 􀂃 ปัญหาการว่างงาน 􀂃 ปัญหาสิ่งแวดล้อม 􀂃 ปัญหาโรคเอดส์

ให้นักศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างสังคมไทย สังคมเมือง ความแตกต่าง สังคมชนบท ครอบครัว ประชากร ความสัมพันธ์ การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม อาชีพ คุณภาพชีวิต การคมนาคม

การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของสังคมไทย 1. ค่านิยมเรื่องวัตถุนิยม 2. โครงสร้างสังคมจะเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทไปเป็นสังคมเมืองมากขึ้น 3. ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปลี่ยนแปลงไป คนในครอบครัวไม่มีเวลาให้กัน 4. สังคมไทยต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีที่ทันสมัย และรับอิทธิพลจากตะวันตกมากขึ้น 5. สังคมเกษตรกรรมจะลดน้อยลง

6. ความไม่เท่าเทียมภายในสังคมมีมากขึ้น 7. คนไทยจะเกิดความตื่นตัวและเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น เนื่องจากอิทธิพลของสื่อ 8. ปัญหาการขยายตัวของเมือง 9. สถาบันการศึกษาจะเป็นในลักษณะผลิตคนเพื่อเข้าสู่สังคมอุตสาหกรรมมากขึ้น 10. ปัญหาทางสังคมจะหลากหลายและรุนแรงขึ้นกับคนทุกเพศทุกวัย อันเป็นผลเนื่องจากความเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม