อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การประสานงาน.
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
ความหมายของการวางแผน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
การวางแผนและกำหนดเป้าหมาย (Organizational Planning and Goal Setting)
การบริหารกลุ่มและทีม
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
กระบวนการวางแผน (Planning Process)
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
The General Systems Theory
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การบริหารความเสี่ยง กับการดำเนินงานห้องสมุด
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การวัดผล (Measurement)
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
Change Management.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน t_montipa@hotmail.com 0839893128 หลักการบริหาร อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน t_montipa@hotmail.com 0839893128

การวางแผน

ความหมายของการวางแผน คือ กระบวนการในการกำหนดวัตถุประสงค์ และวิธีการว่า จะทำอย่างไรให้บรรลุวัตถุประสงค์ การวางแผนเป็น กระบวนการในการเผชิญกับความไม่แน่นอน โดยการกำหนดการกระทำขึ้นล่วงหน้าเพื่อให้ได้ผลตามที่กำหนดไว้

ความสำคัญของการวางแผน เพื่อลดความไม่แน่นอนลง หรือ ลดความเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด

วัตถุประสงค์ในการวางแผน การวางแผนทำให้รู้ทิศทางในการดำเนินงาน การวางแผนทำให้ลดความไม่แน่นอนลง การวางแผนทำให้ลดความเสียหายการซ้ำซ้อนกันของงานที่ทำ การวางแผนทำให้รู้มาตรฐานในการควบคุม

ปัญหาจากปัจจัยภายนอก ข้อกำหนดของรัฐ เทคโนโลยีที่ซับซ้อน และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงอัตราค่าแรงงาน การเคลื่อนไหวของเงินทุน

ปัญหาจากปัจจัยภายใน ประสิทธิภาพในการบริหารงาน โครงสร้างองค์การและระบบงาน ความหลากหลายทางด้านแรงงาน ความรู้ความสามารถของฝ่ายบริหาร การวิจัยและพัฒนา เครื่องจักรอุปกรณ์ ชื่อเสียงขององค์การ

ประโยชน์ของการวางแผน ปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น ปรับปรุงการประสานงานให้ดีขึ้น ปรับปรุงการควบคุมให้ดีขึ้น ปรับปรุงการบริหารเวลาให้ดีขึ้น

การวางแผนกับการบริหารเวลา เวลาที่ใช้กับหัวหน้าหรือผู้บังคับบัญชา (Boss-Imposed Time) เวลาที่ใช้กับระบบ (System-Imposed Time) เวลาที่ใช้กับตัวเอง (Self-Imposed Time)

การวางแผนกับความไม่แน่นอน ผู้ป้องกันตัวเอง (defender) ผู้แสวงหา (prospector) ผู้วิเคราะห์ (analyzer) ผู้ตอบโต้ (reactor)

กระบวนการวางแผน การวิเคราะห์สถานการณ์ การกำหนดวัตถุประสงค์และแผน การประเมินวัตถุประสงค์และแผน การเลือกวัตถุประสงค์และแผน การนำไปใช้ การตรวจสอบและควบคุม

เกณฑ์การแบ่งประเภทของแผน การแบ่งตามระยะเวลา (time horizon) การแบ่งตามขอบเขตของกิจกรรมที่ทำ (scope of activity) การแบ่งตามการนำไปใช้ (frequency of use)

วิธีการวางแผน การวางแผนจากข้างในไปข้างนอก และจากข้างนอกมาข้างใน (inside-out and outside-in planning) การวางแผนจากบนลงล่างและจากล่างขึ้นบน (top-down and bottom-up planning) การวางแผนเพื่อความไม่แน่นอน (contingency planning)

สาเหตุที่ทำให้แผนล้มเหลว แผนที่วางไว้ไม่สอดคล้องกับลักษณะงานขององค์การ คนวางแผนไม่มีความรู้ในการวางแผน ขาดข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นในการวางแผน ขาดการสนับสนุนจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับแผน ผู้บริหารเน้นในรายละเอียดมากเกินไป ไม่มีการปรับแผนหรือเปลี่ยนแปลงแผน และวัตถุประสงค์ มีการต่อต้านจากคนในองค์การ

เครื่องมือในการวางแผน การพยากรณ์ (forecasting) 1.1 พยากรณ์เชิงคุณภาพ (qualitative forecasting) 1.2 พยากรณ์เชิงปริมาณ (quantitative forecasting) 1.3 รูปแบบทางเศรษฐกิจ (economic model) 1.4 การสำรวจทางสถิติ (statistic survey) การหาจุดเด่น (benchmarking)

เครื่องมือในการวางแผน การให้มีส่วนร่วมในการวางแผน (participative planning) การใช้ภาพ (use of scenario) การใช้ที่ปรึกษาวางแผน (use of staff planner)

การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ การบริหารระหว่างการวางแผนและการควบคุม ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายในการทำงาน ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันวางแผนงาน

การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันในการกำหนดมาตรฐานที่ใช้วัดผลการปฎิบัติงาน ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันในการวัดผลงานที่เกิดขึ้นจริงทบทวนแก้ไขผลการปฏิบัติงานและกระบวนการ MBO ใหม่

ผลดีของการบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ กำหนดความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างชัดเจน ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาต้องประชุมร่วมกันอยู่เสมอ MBO ส่งเสริมให้คนควบคุมตัวเองทำให้ผลงานสูง

การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ จะเกิดผลมากน้อยขึ้นอยู่กับ 2 ประการ การกำหนดวัตถุประสงค์ การทำให้ MBO สำเร็จ

กำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ดี กำหนดเป้าหมายที่เป็นงานที่สำคัญหรือเป้าหมายหลัก กำหนดวันเวลาของความสำเร็จของงานหรือของผลงาน เป้าหมายที่ค่อนข้างสูงและสามารถทำได้จริง ถ้าเป็นไปได้กำหนดเป้าหมายเป็นจำนวนหรือค่าที่วัดได้