อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน t_montipa@hotmail.com 0839893128 หลักการบริหาร อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน t_montipa@hotmail.com 0839893128
การวางแผน
ความหมายของการวางแผน คือ กระบวนการในการกำหนดวัตถุประสงค์ และวิธีการว่า จะทำอย่างไรให้บรรลุวัตถุประสงค์ การวางแผนเป็น กระบวนการในการเผชิญกับความไม่แน่นอน โดยการกำหนดการกระทำขึ้นล่วงหน้าเพื่อให้ได้ผลตามที่กำหนดไว้
ความสำคัญของการวางแผน เพื่อลดความไม่แน่นอนลง หรือ ลดความเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด
วัตถุประสงค์ในการวางแผน การวางแผนทำให้รู้ทิศทางในการดำเนินงาน การวางแผนทำให้ลดความไม่แน่นอนลง การวางแผนทำให้ลดความเสียหายการซ้ำซ้อนกันของงานที่ทำ การวางแผนทำให้รู้มาตรฐานในการควบคุม
ปัญหาจากปัจจัยภายนอก ข้อกำหนดของรัฐ เทคโนโลยีที่ซับซ้อน และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงอัตราค่าแรงงาน การเคลื่อนไหวของเงินทุน
ปัญหาจากปัจจัยภายใน ประสิทธิภาพในการบริหารงาน โครงสร้างองค์การและระบบงาน ความหลากหลายทางด้านแรงงาน ความรู้ความสามารถของฝ่ายบริหาร การวิจัยและพัฒนา เครื่องจักรอุปกรณ์ ชื่อเสียงขององค์การ
ประโยชน์ของการวางแผน ปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น ปรับปรุงการประสานงานให้ดีขึ้น ปรับปรุงการควบคุมให้ดีขึ้น ปรับปรุงการบริหารเวลาให้ดีขึ้น
การวางแผนกับการบริหารเวลา เวลาที่ใช้กับหัวหน้าหรือผู้บังคับบัญชา (Boss-Imposed Time) เวลาที่ใช้กับระบบ (System-Imposed Time) เวลาที่ใช้กับตัวเอง (Self-Imposed Time)
การวางแผนกับความไม่แน่นอน ผู้ป้องกันตัวเอง (defender) ผู้แสวงหา (prospector) ผู้วิเคราะห์ (analyzer) ผู้ตอบโต้ (reactor)
กระบวนการวางแผน การวิเคราะห์สถานการณ์ การกำหนดวัตถุประสงค์และแผน การประเมินวัตถุประสงค์และแผน การเลือกวัตถุประสงค์และแผน การนำไปใช้ การตรวจสอบและควบคุม
เกณฑ์การแบ่งประเภทของแผน การแบ่งตามระยะเวลา (time horizon) การแบ่งตามขอบเขตของกิจกรรมที่ทำ (scope of activity) การแบ่งตามการนำไปใช้ (frequency of use)
วิธีการวางแผน การวางแผนจากข้างในไปข้างนอก และจากข้างนอกมาข้างใน (inside-out and outside-in planning) การวางแผนจากบนลงล่างและจากล่างขึ้นบน (top-down and bottom-up planning) การวางแผนเพื่อความไม่แน่นอน (contingency planning)
สาเหตุที่ทำให้แผนล้มเหลว แผนที่วางไว้ไม่สอดคล้องกับลักษณะงานขององค์การ คนวางแผนไม่มีความรู้ในการวางแผน ขาดข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นในการวางแผน ขาดการสนับสนุนจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับแผน ผู้บริหารเน้นในรายละเอียดมากเกินไป ไม่มีการปรับแผนหรือเปลี่ยนแปลงแผน และวัตถุประสงค์ มีการต่อต้านจากคนในองค์การ
เครื่องมือในการวางแผน การพยากรณ์ (forecasting) 1.1 พยากรณ์เชิงคุณภาพ (qualitative forecasting) 1.2 พยากรณ์เชิงปริมาณ (quantitative forecasting) 1.3 รูปแบบทางเศรษฐกิจ (economic model) 1.4 การสำรวจทางสถิติ (statistic survey) การหาจุดเด่น (benchmarking)
เครื่องมือในการวางแผน การให้มีส่วนร่วมในการวางแผน (participative planning) การใช้ภาพ (use of scenario) การใช้ที่ปรึกษาวางแผน (use of staff planner)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ การบริหารระหว่างการวางแผนและการควบคุม ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายในการทำงาน ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันวางแผนงาน
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันในการกำหนดมาตรฐานที่ใช้วัดผลการปฎิบัติงาน ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันในการวัดผลงานที่เกิดขึ้นจริงทบทวนแก้ไขผลการปฏิบัติงานและกระบวนการ MBO ใหม่
ผลดีของการบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ กำหนดความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างชัดเจน ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาต้องประชุมร่วมกันอยู่เสมอ MBO ส่งเสริมให้คนควบคุมตัวเองทำให้ผลงานสูง
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ จะเกิดผลมากน้อยขึ้นอยู่กับ 2 ประการ การกำหนดวัตถุประสงค์ การทำให้ MBO สำเร็จ
กำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ดี กำหนดเป้าหมายที่เป็นงานที่สำคัญหรือเป้าหมายหลัก กำหนดวันเวลาของความสำเร็จของงานหรือของผลงาน เป้าหมายที่ค่อนข้างสูงและสามารถทำได้จริง ถ้าเป็นไปได้กำหนดเป้าหมายเป็นจำนวนหรือค่าที่วัดได้