บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การสัมภาษณ์.
รายงานธุรกิจ.
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
ทรัพยากรสารสนเทศ.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
Seminar in computer Science
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเขียนรายงานการทดลอง
การวางแผนและการดำเนินงาน
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการวิจัย
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการวิจัย
แนวคิดในการทำวิจัย.
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
รายงานการศึกษาค้นคว้า
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
หน่วยที่ ๔ การเขียนรายงาน
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การเขียนรายงาน.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเสนอรายงานโครงงาน คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
16. การเขียนรายงานการวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
การเขียนรายงานทางธุรกิจ
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า หมายถึง การนำเสนอผลจากการศึกษาค้นคว้า ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ด้วยวิธีการศึกษาค้นคว้า แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลจากการอ่าน การสัมภาษณ์ การสังเกต หรือวิธีใดๆ ก็ตาม แล้วผ่านการวิเคราะห์ ประเมินค่า เพื่อนำเสนองานต่อผู้บังคับบัญชา

รูปแบบการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า แบ่งออกเป็น 5 รูปแบบ 1. การนำเสนอรายงานด้วยวาจา ( Oral Report ) เป็นการเสนอรายงานด้วยคำพูด โดยที่ผู้พูดต้องทำความเข้าใจเรื่องและจัดเตรียมหัวข้อ ( Outline ) ที่สำคัญ และ จัดลำดับ ( Priority ) พร้อมกับการเตรียมหลักฐาน ( Evidence ) เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ

2. การนำเสนอรายงานด้วยลายลักษณ์อักษร ( Written Reports ) คือการนำเสนอด้วยการเขียน ซึ่งมีข้อดีที่สามารถนำไปใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิงได้ นิยมใช้ทั้งในหน่วยงานทางธุรกิจ และทางการศึกษาในงานวิชาการ แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

2.1 รายงานขนาดสั้นไม่เป็นทางการ ( Short Informal Report ) มีรูปแบบการเขียน เหมือนจดหมาย หรือบันทึกข้อความ จะมีความยาวของเนื้อหาไม่เกิน 3 หน้า มีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนนำ ส่วนเนื้อหา และส่วนสรุป

2.2 รายงานขนาดยาวเป็นทางการ ( Formal Reports) เป็นรายงานที่มีความสำคัญในเรื่องของรายละเอียดข้อมูล เพราะจะมีส่วนประกอบของตาราง หรือภาพประกอบเพิ่มเติมในเนื้อหา นิยมทำเป็นรูปเล่มที่ถาวร 3. การแสดงนิทรรศการ ( Exhibition) เป็นการนำข้อมูลผลการศึกษาค้นคว้าวิจัย มาจัดในรูปแบบของป้ายนิเทศ หรือการแสดงนิทรรศการ เพื่อให้บุคคลเกิดความสนใจ เพราะการนำเสนอแบบนี้จะมีรูปภาพ แผนภูมิประกอบ

4. การอภิปรายผล ( Discussion ) เป็นการนำเสนอข้อมูลด้วยคำพูดต่อที่ประชุม อาจจะมีการซักถาม หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน 5. การสาธิตและการทดลอง( Demonstration and Experiment) เป็นรูปแบบที่ผู้ศึกษาไม่จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลจากเอกสาร หรือหนังสือเพียงอย่างเดียว อาจใช้วิธีที่หลากหลายในการนำเสนอ เช่นการทดลองให้ผู้อื่นเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงตามสภาพการเป็นจริง

ประเภทของรายงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. รายงานทางธุรกิจ เป็นการรายงานถึงการดำเนินงานที่ธุรกิจประสบผลสำเร็จ หรือมีปัญหาในธุรกิจนั้น ๆ ซึ่งยังแบ่งออกเป็นอีก 2 ประเภทคือ

1.1 รายงานธุรกิจแบบธรรมดา ( Regular Report) เป็นรายงานี่จัดทำขึ้นตามวาระหรือระเบียบที่กำหนดไว้ เช่น 1 เดือน หรือ 3 เดือน 1.2 รายงานธุรกิจแบบพิเศษ ( Special Report ) เป็นรายงานทางธุรกิจที่จัดทำขึ้นในกรณีพิเศษ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้

รายงานทางวิชาการ ( Education Report ) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 2 รายงานทางวิชาการ ( Education Report ) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 2.1 รายงานที่ประกอบการศึกษา มี 3 ประเภท - Report - Term Paper - Thesis or Dissertation 2.2 รายงานการวิจัย ( Research) เป็นรายงานที่ทำในขณะเรียน หรือจบการศึกษาแล้วก็ได้ โดยอาศัยความร่วมมือในการตัดสินใจ

ส่วนประกอบของรายงาน 1. ส่วนประกอบตอนต้น ( Preliminary ) - ปกนอก ( Cover of Binding ) - ใบรองปก ( Fly Page ) - ปกใน ( Title Page ) - คำนำ ( Preface ) - คำขอบคุณ ( Acknowledgement ) - สารบัญ ( Contents ) - สารบัญตาราง ( List of Tables ) - สารบัญภาพ ( List of Illustrations )

2. ส่วนประกอบตอนกลาง หรือ ส่วนเนื้อหา ( The Text ) - 2. ส่วนประกอบตอนกลาง หรือ ส่วนเนื้อหา ( The Text ) - ส่วนที่เป็นเนื้อหา และ ส่วนที่ประกอบในเนื้อหา ** อัญประภาษ ( Quotation ) ** เชิงอรรถ ( Footnote ) *.* เชิงอรรถอ้างอิง ( Citation Footnote) *.* เชิงอรรถอธิบาย ( Content Footnote) *.* เชิงอรรถโยง ( Gross-Reference ) *.* ตาราง ( Tables ) *.* ภาพประกอบ ( Illustration )

3. ส่วนประกอบตอนท้าย ( Supplementary). บรรณานุกรม ( Bibliography) 3. ส่วนประกอบตอนท้าย ( Supplementary) *.* บรรณานุกรม ( Bibliography) *.* ภาคผนวก ( Appendix ) *.* อภิธานศัพท์ ( Glossary ) *.* ใบรองปกหลัง ( Fly page ) *.* ปกหลัง ( Binding )

ประโยชน์รายงานทางวิชาการ 1. ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจ 2. ทำให้ผู้เขียนมีโอกาสและสามารถศึกษาค้นคว้า ด้วย ตนเองมากยิ่งขึ้น 3. ทำให้รู้จักคิดอย่างมีระบบ มีเหตุผล 4. ทำให้ผู้เขียนเกิดความสามารถ พัฒนาทักษะใน การใช้ภาษารวบรวมและเรียบเรียงความรู้ ความคิดอย่างเป็นระบบ

5. ทำให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ. 6 5. ทำให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ 6. ทำให้รู้จักยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 7. ทำให้ผู้เขียนเป็นผู้มีความละเอียด รอบคอบ รักความสะอาด รักความถูกต้องตามระเบียบ หรือข้อกำหนด

ลักษณะของรายงานที่ดี 1. ควรเป็นเรื่องที่สำคัญ และ กำลังอยู่ในความสนใจ 2. มีเนื้อหาที่ถูกต้อง ชัดเจน น่าสนใจ 3. มีหลักฐานอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง 4. ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา 5. มีการเรียงลำดับความที่ดี และมีความต่อเนื่อง

การเขียนปกรายงาน 1. ชื่อรายงาน 2. ชื่อผู้รับการเสนอรายงาน 3. ชื่อผู้จัดทำรายงาน

การเข้าเล่ม 1. ปกนอก 2. ใบรองปก 3. ปกใน 4. คำนำ 5. สารบัญ 6. เนื้อเรื่อง 7. บรรณานุกรม 8. ใบรองปกหลัง 9. ปกหลัง