บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
รหัส หลักการตลาด.
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
MK201 Principles of Marketing
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 9 การจัดการโซ่อุปทานและโลจีสติกส์
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร 119331 หมู่ 1 อ.ณิธิชา ธรรมธนากูล

หัวใจสำคัญของของการตลาดคือ หน้าที่ในการแลกเปลี่ยน เปลี่ยนจากมือหนึ่งไปยังอีกมือหนึ่ง จนถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้าย ทุก ๆ ครั้งที่มีการเปลี่ยนมือ การตัดสินใจด้านราคาก็จะเปลี่ยนด้วย ดังนั้นการวิเคราะห์ราคา จึงเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการตลาด มี 3 แนวทางของระบบการตลาดที่ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ คือ ธรรมเนียมปฏิบัติ ส่วนกลางหรือผู้มีอำนาจตัดสินใจ หรือโดยการแข่งขัน

7.1 บทบาทของราคาในระบบเศรษฐกิจ เกิดทางสายกลางระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อ เกิดการแสวงหารายได้ของผู้ประกอบธุรกิจโดยผลิตสินค้าและบริการให้กับสังคม ช่วยจัดสรรทรัพยากร นั่นคือ ก่อให้เกิด การลงทุน หากราคาเพิ่มขึ้นเป็นแรงผลักดันให้ธุรกิจดำเนินได้ต่อไป แต่ในทางตรงกันข้ามพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคจะลดลง

บทบาทของราคาในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ แนะนำและควบคุมการตัดสินใจในปริมาณการผลิตและปริมาณการขาย แนะนำและควบคุมการตัดสินใจในการบริโภค แนะนำและควบคุมการตัดสินใจทางการตลาดในด้าน Time, Form and Place

7.2 Relative Prices กับการตัดสินใจด้านการตลาด จำนวนสินค้าทดแทนในตลาดมีจำนวนมาก ราคาและกำไร คือ สาเหตุที่สำคัญในการเลือกซื้อสินค้าและเลือกผลิตสินค้า ราคาของสินค้าทดแทนกันจึงมีผลต่อการซื้อ การผลิต และการขาย ของทั้งเกษตรกร หน่วยธุรกิจทางการตลาด และผู้บริโภค ใช้การพิจารณาสัดส่วนราคาของสินค้าทดแทนกัน

Y MC ATC S P (บาทต่อหน่วย) MC, ATC Y D หน่วยธุรกิจ ตลาด 7.3 การประยุกต์จากการวิเคราะห์อุปทานและอุปสงค์ Y MC ATC S P (บาทต่อหน่วย) MC, ATC Y P0 D หน่วยธุรกิจ ตลาด

1) ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MC ATC S P (บาทต่อหน่วย) MC, ATC Y Y P0 D=MR A Y0 หน่วยธุรกิจ ตลาด

1) ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์(ต่อ) S1 MC ATC S P (บาทต่อหน่วย) MC, ATC Y Y P0 D=MR B P1 Y1 หน่วยธุรกิจ ตลาด

2) ในตลาดผูกขาด D P1 MC, ATC Y P0 MR MC ATC A Y0 Y1

3. ในระยะสั้นมาก Y S P (บาทต่อหน่วย) P0 D0 D1 P1

สรุป กำหนดราคา ณ จุด รายรับเพิ่มเท่ากับต้นทุนเพิ่ม การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์และอุปทาน ทำให้ดุลยภาพของตลาดเปลี่ยนแปลงไป มีการปรับตัวของผู้ผลิตจนได้ดุลยภาพใหม่

7.4 การค้นพบราคา (Price Discovery) การกำหนดราคา (Price Determination) เกิดจากกระบวนการแรงผลักดันของ Demand and Supply การค้นพบราคา (Price Discovery) เกิดจากกระบวนการของผู้ซื้อและผู้บริโภคในการได้มาซึ่งราคา Five systems of price discovery for farm products have been identified

การต่อรองราคาตัวต่อตัว(Individual, decentralized negotiations) การต่อรองราคาตัวต่อตัว(Individual, decentralized negotiations) เป็นการตกลงกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายขึ้นอยู่กับ ข้อมูลข่าวสาร, ประสบการณ์ในการค้าขาย,ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจต่อรองของผู้ซื้อและผู้ขาย 2) การกำหนดราคาในองค์การตลาดหรือตลาดกลาง (Organized or central markets) เป็นการตกลงกันที่มีการกำหนดรูปแบบแน่นอนจากองค์กรตลาดหรือตลาดกลางนั้น ตลาดต้องมีข้อมูลมากพอในการกำหนดราคา และต้องรู้ต้นทุนของเกษตรกรดี ค่าใช้จ่ายทางการตลาดต่ำ โปร่งใส และเปิดเผย

3) การกำหนดราคาตามตำรา (Formula pricing) 3) การกำหนดราคาตามตำรา (Formula pricing) เป็นการกำหนดราคาตามรายงานขององค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ อาจมีการปรับปรุงราคา ตามคุณภาพของสินค้า และบวกค่าขนส่งเพิ่ม 4) การรวมกลุ่มกันต่อรองราคา (Bargained pricing) เป็นการรวมกลุ่มกันของเกษตรกรเพื่อการกำหนดราคาร่วมกัน อย่างไรก็ตาม เกษตรกรแต่ละรายมีต้นทุนไม่เหมือนกันการได้กำไรจึงยังคงแตกต่างกัน เหมาะกับการรวมกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน คุณภาพสินค้าใกล้เคียงกัน

5) การกำหนดราคาโดยผู้บริหาร (Administered pricing) เป็นการกำหนดราคาโดยรัฐบาลหรือเอกชน เช่น Price support Price ceiling Supply control