6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทุพภิกขภัย 1.นส.กชกร อ่วมบุญลือ ม.4/5 เลขที่ 9
Advertisements

แอร์กับการคำนวณ... “ คุณรู้หรือไม่เครื่องปรับอากาศที่คุณใช้ในแต่ละวันนั้นสร้างปัญหาให้กับโลกและสิ่งมีชีวิต บนโลกอย่างไรบ้าง”
Solar Storm พายุสุริยะ
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
Global Warming.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
แผ่นดินไหว.
หากไม่มีการช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อนในวันนี้ ในอนาคตจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร 1. ทำให้ฤดูกาลของฝนเปลี่ยนแปลงไป กระบวนการระเหยและการกลั่นตัวจะเร็วขึ้น.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.
โครงการเครื่องวัดระดับ ความสูงคลื่น
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ตราด.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหว ในประเทศไทย Thailand Seismic Observatories
ภาษาถิ่น กลาง นางสาว ชัชพร ใบผ่อง เลขที่ 20
ข้อมูลการออกแบบท่าเรือ โครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา ระยะที่1
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
โลก ร้อน. จำนวนพายุ เฮ อริเคน ที่มีความ รุนแรงมากระดับ 4 และ 5 เพิ่มขึ้น สองเท่า ใน สามสิบปีที่ผ่าน มา.
จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์
ดวงจันทร์ (Moon).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวศุกร์ (Venus).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
คลิกที่ตัวผมได้เลย!! ณ ดวงดาวแห่งหนึ่ง....
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
ผู้นำเสนอข่าว นายขจรยศ ชัย สุรจินดา. 3 วันที่แล้ว โครงการสิ่งแวดล้อมของ สหประชาชาติ ( ยูเนป ) ออกรายงานฉบับ ใหม่เกี่ยวกับสถานการณ์น้ำแข็งและหิมะ ของโลก.
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย นาย ปาฏิหาริย์ ชาญผาติ ม.5/11 เลขที่ 3

ดร. สมิทธ ธรรมสโรช ประธานกรรมการมูลนิธิเตือนภัย พิบัติแห่งชาติ บรรยายพิเศษเรื่อง “ ภัยพิบัติทาง ธรรมชาติและสถานการณ์ภัยพิบัติของโลกในอนาคต ” ในการประชุมวิชาการ รพ. ราชวิถี ตอนหนึ่งว่า โลกมีชั้น บรรยากาศโอโซนอยู่สูงจากโลกประมาณ กม. ทำให้มนุษย์ปลอดภัยจากแสงอุลตราไวโอ เลต นอกจากนี้ยังมี สนามแม่เหล็กป้องกันอุกาบาตรที่ จะมากระทบผิวโลก

ดร. สมิทธ กล่าวต่อว่า ที่น่าห่วง และอาจจะกระทบกับ ประเทศไทย คือ การระเบิดของภูเขาไฟใต้มหาสมุทรที่ มองไม่เห็น หากมีขนาดใหญ่มากจะดันให้เปลือกโลก ใต้มหาสมุทรยกตัว และอีกข้อมูลที่เริ่มมีการพูดถึงกัน คือ พายุสุริยะจากการระเบิดของผิวดวงอาทิตย์ หาก สนามแม่เหล็กไม่สามารถต้านทานได้จะเกิดผลกระทบ กับโลก นอกจากนี้การเคลื่อนตัวของเปลือกโลกรุนแรง จะทำให้เกิดแผ่นดินไหว ประเทศไทยมีรอยเลื่อนอยู่ 13 รอยส่วนใหญ่อยู่ทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และ ภาคใต้ โดยภาคเหนือไล่ตั้งแต่ เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ ภาคตะวันตกก็น่าเป็นห่วง เขื่อนศรีนครินทร์ที่ ไปสร้างเขื่อนทับรอยเลื่อนและเคยเกิดแผ่นดินไหว หลายครั้งบริเวณรอยเลื่อน การที่เขื่อนดังกล่าวเก็บกัก น้ำไว้ถึง 17,000 ล้านลูกบาศก์เมตรไปทับรอยเลื่อนจะ ทำให้เกิดแผ่นดินไหวได้ง่าย

ดร. สมิทธ กล่าวว่า กรุงเทพฯตั้งอยู่บนดินเหลวเหมือน เม็กซิโก หากมีแผ่นดินไหวห่างออกไป กม. แผ่นดินจะมีการขยายตัวได้ ดังนั้นถ้าเกิดแผ่นดินไหว ห่างกรุงเทพฯ กม. อาจส่งผลกระทบกับตึก รามบ้านช่อง ทาวเฮาส์ ที่โครงสร้างไม่แข็งแรง “ น้ำท่วมในช่วงที่ผ่านมา ความจริงมีพายุเข้าเพียงลูก เดียว ส่วนอีก 3-4 ลูกเป็นหางพายุที่มีน้ำปริมาณน้ำฝน มากกว่าปกติ โดยพายุสุริยะเข้ามากระทบทำให้เกิด ความชื้นสูง ฝนจึงตกมาก ปริมาณน้ำในเขื่อนสูงมาก และปล่อยน้ำออกมาพร้อมกันทำให้น้ำท่วม ” ดร. สมิทธ กล่าว

ที่มา ดร. สมิทธ กล่าวด้วยว่า ในอนาคตขอทำทายว่า จะเกิด สินามิแน่นอน จุดที่เกิดมี 2 จุด คือ ระหว่างหมู่เกาะอัน ดามันไปจนถึงปากแม่น้ำอิรวดี และบริเวณอ่าวไทย ส่งผลให้จังหวัดทางภาคใต้ได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หาก จะมีภัยธรรมชาติเกิดขึ้น รัฐบาลจะต้องออกมาตรการ เตือนภัยผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจอย่างน้อย ล่วงหน้า 2-3 วัน ส่วนภาวะโลกร้อนนั้นประเทศไทยเคย มีอุณภูมิสูงสุด 42.5 องศาที่ จ. ลำปางในปีที่แล้ว และ มีสถิติ 16 รายเสียชีวิตจากภาวะโลกร้อนแต่ปีนี้ไม่รู้ว่า จะมีภาวะโลกร้อนหรือไม่ แต่ที่แน่ ๆ ภาวะโลกร้อนทำ ให้น้ำทะเลร้อนขึ้นและมีพายุเกิดขึ้นมาก