เครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ICT & LEARN.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
นำเสนอ เรื่อง x.25.
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ระบบการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
COMPUTER.
การสื่อสารข้อมูล.
แบบทดสอบ วิชา คอมพิวเตอร์ บทที่ 3
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Telecom. & Data Communications
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
SMTP.
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Introduction to Information and Communication Technology)
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต Internet
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
ระบบ โทรคมนาคม บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ระบบโทรคมนาคม.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ISP ในประเทศไทย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยทำให้การบริการสะดวกขึ้น
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5. ในยุคของคอมพิวเตอร์วีแอลเอสไอ เมื่อ ไมโครคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถ สูง ทำงานได้เร็ว สามารถประมวลผลและ แสดงผลได้ครั้งละมากๆ จึงทำให้
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ช่วยทำให้การ บริการสะดวกขึ้น.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ตริตราภรณ์ วงค์กิติ เลขที่ 14 ด. ญ. ปิยกานต์ กุนราชา เลขที่ 19.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
จัดทำโดย ด. ช. กิตติพงษ์ ตากาศ เลขที่ 7 ม.1/8 ด. ช. สุริยะกูล ทวีสุข เลขที่ 6 ม.1/8.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วย ให้การบริการสะดวกขึ้น จัดทำโดย ด. ญ. ชุติกาญจน์ ยี่บุญ เลขที่ 1 ม.1/12 ด. ญ. อาทิตยา มั่นหาญ เลขที่ 13 ม. 1/12.
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
จัดทำโดย ด. ช. สินชัย พรมสินชัย เลขที่ 3 ม.1/2 ด. ญ. ภาณุมาศ ไชยวงค์ เลขที่ 14 ม.1/2.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่3 การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1 พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร

องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้แก่ ผู้ส่ง(sender) ผู้รับ(receiver) ข่าวสาร (message) ตัวกลาง(media) และโพรโทคอล(protocol) ซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมกันในการสื่อสาร ตัวอย่างในการสื่อสารข้อมูล เช่นการพูดคุยสื่อสารกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอนในชีวิตประจำวัน ผู้ส่งคือผู้สอน ผู้รับคือนักเรียน ข่าวสารคือสิ่งที่ผู้สอนบรรยาย ตัวกลางคืออากาศหรืออาจเป็นกระดานดำ โพรโทคอลคือภาษาที่ใช้

ในอดีตมนุษย์ใช้ภาษามือในการสื่อสาร ต่อมามีการใช้ภาษาในการสื่อสารและวาดภาพเพื่อบันทึกเรื่องราว ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ได้มีการพัฒนาให้ก้าวหน้ามากขึ้นทำให้การสื่อสารในปัจจุบันสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้รวดเร็วและสะดวกมากขึ้น เช่น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต

การพัฒนาของการสื่อสาร พัฒนาการของการสื่อสาร ช่วงเวลา พัฒนาการของการสื่อสาร สมัยโบราณ การส่งข้อความระยะไกลต้องอาศัยคนนำสาร สัญญาณควันไฟ หรือนกพิราบสื่อสาร พ.ศ.2379 เซมมัวล์ มอร์ส คิดค้นรหัสมอร์ส ซึ่งถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวาง พ.ศ.2419 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮมเบล ประดิษฐ์โทรศัพท์เพื่อการสื่อสารด้วยเสียงผ่านสายตัวนำ พ.ศ.2444 กูกลิโกโม มาร์โคนี ทดลองส่งรหัสมอร์สด้วยคลื่นวิทยุเพื่อการสื่อสารได้สำเร็จ พ.ศ.2501 สหรัฐอเมริกาส่งดาวเทียมเพื่อการสื่อสารขึ้นสู่อวกาศ

พัฒนาการของการสื่อสาร ช่วงเวลา พัฒนาการของการสื่อสาร พ.ศ.2512 อินเทอร์เน็ต พ.ศ.2513 การสื่อสารระหว่างเครื่องปลายทางที่อยู่ห่างไกลเข้ามายังคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเพื่อประมวลผล พ.ศ.2516 การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์นะยะใกล้เพื่อทำงานร่วมกัน เช่น ระบบอีเทอร์เน็ต โทเค็นริง พ.ศ.2522 ระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์ เริ่มมีใช้เป็นครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ.2530 การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย

รหัสมอส

3.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในอดีตการสื่อสารข้อมูลจะใช้เครื่องปลายทาง (terminal) ที่อยู่ห่างไกล ส่งข้อมูลเข้ามายังคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเพื่อทำการประมวลผลข้อมูล ต่อมามีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ใช้งานในลักษณะเครื่องเดียว (stand alone) และสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น และเมื่อมีความต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้ทรัพยากรร่วมกันจึงพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานร่วมกันโดยเชื่อมโยงเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นการนำคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อโดยผ่านตัวกลางในการสื่อสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันและใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (resource sharing) ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อทำงานร่วมกัน

เราสามารถสร้างระบบเครือข่ายของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภทได้ หน่วยงานที่ต้องการลดต้นทุน อาจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายโดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลและใช้โปรแกรมต่าง ๆ ร่วมกันได้ ซึ่งทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการลงทุน หน่วยงานสามารถขยายเครือข่ายการใช้คอมพิวเตอร์ขยายความจุข้อมูลของเครื่องบริการไฟล์ให้เหมาะกับขนาดของหน่วยงานได้ในอนาคต

บทบาทสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีต่อองค์กร เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทสำคัญต่อองค์กรดังนี้ 1.ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและสามารถทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้พร้อมกัน 2.ส่งเสริมการใช้งานข้อมูลร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและผลกำไร 3.สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้คุ้มค่า เช่น แบ่งกันใช้ไฟล์ข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ ทำให้ลดต้นทุน เพราะสามารถพัฒนาระบบให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้