ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ดิน(Soil).
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment Technology and Life
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
จัดเวทีนำเสนอข้อมูล / ร่วมแสดงความเห็นร่วมกัน วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
นายสุพจน์ ไชยวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ฟางข้าวกับยางพารา
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
863封面 ทองคำ เขียว.
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การเจริญเติบโตของพืช
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms http://202.143.154.189/blog/userfiles/image/pui.jpg ปุ๋ยหมักชีวภาพ  Effective Microorganisms นาย เพิ่มพูน เชาวนพูนผล 550510425 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาธรณีและอัญมณีวิทยา

ปุ๋ยหมักชีวภาพคืออะไร ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการหมักกับน้ำเอนไซม์ ช่วยในการปรับปรุงดิน ย่อยสลายอินทรียวัตถุในดินให้เป็นอาหารแก่พืช ข้อมูล:http://www.ku.ac.th/e-magazine/march47/agri/puy.html รูป1:http://202.143.137.98/chonnabot/UserFiles/Image/lib/1263296420_34861263296420_3486.jpg

ความสำคัญของปุ๋ยหมักธรรมชาติ ด้านการเกษตร 1. ช่วยปรับสภาพความเป็นกรด - ด่าง ในดินและน้ำ 2. ช่วยปรับสภาพโครงสร้างของดินให้ร่วนซุย อุ้มน้ำและอากาศได้ดียิ่งขึ้น 3. ช่วยย่อยสลายอินทรียวัตถุในดินให้เป็นธาตุอาหารแก่พืช พืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้เลย โดยไม่ต้องใช้พลังงานมากเหมือนการใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ 4. ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชให้สมบูรณ์ แข็งแรงตามธรรมชาติ ต้านทานโรคและแมลง 5. ช่วยสร้างฮอร์โมนพืช ทำให้ผลผลิตสูง และคุณภาพของผลผลิตดีขึ้น 6. ช่วยให้ผลผลิตคงทน เก็บรักษาไว้ได้นาน ความสำคัญของปุ๋ยหมักธรรมชาติ ด้านการเกษตร ด้านปศุสัตว์ ด้านการประมง ด้านสิ่งแวดล้อม http://my1.dek-d.com/monnarek/diary/?id=2707

ความสำคัญของปุ๋ยหมักธรรมชาติ ด้านปศุสัตว์ 1. ช่วยกำจัดกลิ่นเหม็นจากฟาร์มสัตว์ ไก่ สุกร ได้ภายใน 24 ชม. 2. ช่วยกำจัดน้ำเสียจากฟาร์มได้ภายใน 1 - 2 สัปดาห์ 3. ช่วยป้องกันโรคอหิวาห์และโรคระบาดต่างๆ ในสัตว์แทนยาปฏิชีวนะ และอื่นๆได้ 4. ช่วยกำจัดแมลงวัน ด้วยการตัดวงจรชีวิตของหนอนแมลงวัน ไม่ให้เข้าดักแด้เกิดเป็นตัวแมลงวัน 5. ช่วยเสริมสุขภาพสัตว์เลี้ยง ทำให้สัตว์แข็งแรง มีความต้านทานโรค ให้ผลผลิตสูง และอัตราการรอดสูง ความสำคัญของปุ๋ยหมักธรรมชาติ ด้านการเกษตร ด้านปศุสัตว์ ด้านการประมง ด้านสิ่งแวดล้อม http://my1.dek-d.com/monnarek/diary/?id=2707

ความสำคัญของปุ๋ยหมักธรรมชาติ ด้านการประมง 1. ช่วยควบคุมคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำได้ 2. ช่วยแก้ปัญหาโรคพยาธิในน้ำ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ 3. ช่วยรักษาโรคแผลต่างๆในปลา กบ จระเข้ ฯลฯ ได้ 4. ช่วยลดปริมาณขี้เลนในบ่อ ช่วยให้เลนไม่เน่าเหม็น สามารถนำไปผสมเป็นปุ๋ยหมัก ใช้กับพืชต่างๆ ได้ดี ความสำคัญของปุ๋ยหมักธรรมชาติ ด้านการเกษตร ด้านปศุสัตว์ ด้านการประมง ด้านสิ่งแวดล้อม http://my1.dek-d.com/monnarek/diary/?id=2707

ความสำคัญของปุ๋ยหมักธรรมชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม 1. ช่วยบำบัดน้ำเสียจากการเกษตร ปศุสัตว์ การประมง โรงงานอุตสาหกรรม ชุมชน และสถาน-ประกอบการทั่วไป 2. ช่วยกำจัดกลิ่นเหม็นจากกองขยะ การเลี้ยงสัตว์ โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชนต่างๆ 3. ปรับสภาพของเสีย เช่น เศษอาหารจากครัวเรือนให้เป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงสัตว์ และการเพาะ-ปลูกพืช 4. กำจัดขยะด้วยการย่อยสลายให้มีจำนวนลดน้อยลง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 5. ช่วยปรับสภาพอากาศที่เสียให้สดชื่น และมีสภาพดีขึ้น ความสำคัญของปุ๋ยหมักธรรมชาติ ด้านการเกษตร ด้านปศุสัตว์ ด้านการประมง ด้านสิ่งแวดล้อม http://my1.dek-d.com/monnarek/diary/?id=2707

ปุ๋ยหมักชีวภาพในสูตรต่างๆ https://sites.google.com/site/banrainarao/knowledge/biofer_11

สูตรที่ 1 คุณสมยศ รักษาวงศ์ ส่วนผสม : ผัก ผลไม้ หรือเศษอาหารเหลือทิ้ง 1 ส่วน กากน้ำตาล หรือน้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน วิธีผสม : ผสมส่วนผสมเข้าด้วยกันทิ้งไว้ 7 วัน (น้ำหมักจะเริ่มเป็นสีน้ำตาลไหม้ มีกลิ่นหอมอมเปรี้ยว ถ้าน้ำหมัก มีสีน้ำตาลอ่อน และกลิ่นบูดแสดงว่าใส่น้ำตาลไม่พอให้เพิ่มกากน้ำตาลลงไปอีก กลิ่นบูดจะค่อยๆ หายไปหมักต่อไปเรื่อยๆ) ตวงน้ำหมักใส่ขวดหรือภาชนะเก็บในที่มืด ในห้องธรรมดาจะเก็บไว้ได้นาน 6 เดือน ถึง 1 ปี

สูตรที่ 1 คุณสมยศ รักษาวงศ์ การประยุกต์ใช้กับพืชการเกษตร  ข้าว ในพื้นที่นาข้าว 1 ไร่ ใส่ปุ๋ยชีวภาพ (ปุ๋ยแห้ง) 200 ก.ก. ผักสวนครัว  ไม้ผลและไม้ยืนต้น  การแก้ปัญหาวัชพืชโดยไม่ใช้สารเคมี  การปศุสัตว์ 

สูตรที่ 2 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี 1. น้ำหมักชีวภาพจากปลา ส่วนผสม : เนื้อปลา น้ำกรดเข้มข้น 3% กากน้ำตาล 20% และหัวเชื้อจุลินทรีย์  วิธีทำ : นำมาผสมรวมกันหมักทิ้งไว้ 1 เดือน นำมากรองกากมาทำปุ๋ย และน้ำไปฉีดพ่น  2. น้ำหมักชีวภาพจากเศษซากพืช  ส่วนผสม : เศษพืช 3 ส่วน น้ำตาลทรายแดง หรือกากน้ำตาล 1 ส่วน  วิธีทำ : นำส่วนผสมรวมกันหมักทิ้งไว้นาน 3 เดือน 

สูตรที่ 2 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี 3. น้ำหมักสมุนไพร  3.1 พืชผักสวนครัว  ส่วนผสม : เมล็ดสะเดา 2 ก.ก หัวข่าแก่ 1 ก.ก. ตะไคร้หอม 1 ก.ก. และน้ำหมักชีวภาพ 10 ลิตร  วิธีทำ : นำส่วนผสมมาผสมรวมกัน  3.2 สวนไม้ผล  ส่วนผสม : เมล็ดสะเดา 2 ก.ก หัวข่าแก่ 1 ก.ก. ตะไคร้หอม 1 ก.ก. และน้ำหมักชีวภาพ 20 ลิตร  วิธีทำ : นำมาผสมรวมกันทั้งหมดทิ้งไว้ 1 คืน แล้วใช้ผ้ากรองมาใช้ประโยชน์