SOPA.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง เปิดโลกสังคมออนไลน์
เรื่องพระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
E-Learning.
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระหว่างวันที่ 14 – 15 ตุลาคม 2556
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
Top 5 Semantic Search Engines
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
สื่อเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากโฆษณา
บทที่ 7 การตลาดออนไลน์ 2 (ต่อ)
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
Mark Zuckerberg ผู้สร้าง facebook.
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
Accessing the Internet
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เรื่อง บริการของเว็บ Google จัดทำโดย น. ส. จิราวรรณ ตุตะพะ น. ส. บุญยฤทธิ์ เรืองยะกลับ น. ส. อัญชลี รัตนสุวรรณ เสนอ อ. จามรรัตน์ ถุงเงิน.
นำเสนอการใช้บริการของ
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
รูปแบบการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
จัดทำโดย นางสาวปุณยนุช ทองหีน รหัสนักศึกษา
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บทที่ 5 เครือข่ายสังคมออนไลน์
บทที่ 5 เครือข่ายสังคมออนไลน์
เขียนโดย David Meerman Scott.
นำเสนอโดย นางจิราภรณ์ ชมยิ้ม อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
รายวิชา เว็บเทคโนโลยี (Web Technology)
การปรับปรุง และพัฒนางาน
Computer mediated communication
การค้ามนุษย์.
เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Socail Network)
Social Media for Education การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม
ข้อมูลพื้นฐานของระบบ Internet Intranet Extranet
วิธีประสบความสำเร็จในทุกเรื่อง
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
ชื่อโครงการ การขายสินค้าออนไลน์
เรื่อง คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
Chapter 4 การตลาด ผ่านโซเชียลมีเดีย
อินเทอร์เน็ต.
Google ยักษ์ใหญ่ผู้ให้บริการเว็บไซต์สืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เผยรายงานราย ครึ่งปีที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการถอด เนื้อหาบนเว็บไซต์และผลลัพธ์การสืบค้น.
ความรับผิดของผู้ประกอบธุรกิจสื่อทางเพศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
Internet Service Privider
จัดทำโดย นางสาวเยาวลักษณ์ พรมใจมั่น มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 34.
Chapter 1 แนะนำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ปัญหาการพิจารณาและกำหนด สถานะทางกฎหมาย การจัดการต่อนิติสัมพันธ์ที่ เกิดขึ้นในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ ปัญหาประสิทธิภาพในการ บังคับใช้กฎหมาย ปัญหาการพิจารณาบ่อเกืด.
Social Network.
SOPA / PIPA. SOPA คืออะไร ? SOPA ย่อมาจาก Stop Online Piracy Act คือบัญญัติกฎหมายป้องกันการ ละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
SOPA & PIPA. อาจารย์ครับ SOPA &PIPA คือ อะไรครับ.
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
HI!!!! How do you do?. hardware/network.html hardware/network.html เป็นเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
SOPA / PIPA aket. SOPA / PIPA คืออะไร  SOPA เป็นกฏหมายที่ปราบปรามการละเมิด ลิขสิทธิ์ออนไลน์ ( ฉบับใหม่ของอเมริกา ) ป้องกันการซื้อขาย การเผยแพร่ภาพยนตร์
Social Media.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SOPA

จัดทำโดย นางสาวมัทนา ทุนรวม รหัสนิสิต 52011711227 สาขา ENV นางสาวฑิฆัมพร โตอ่อน รหัสนิสิต 52010918243 สาขา Ac นางสาววิมลจันทร์ นักร้อง รหัสนิสิต 53010911167 สาขา MK นางสาวรุ่งระวี สนมศรี รหัสนิสิต 53011215051 สาขา ICT

SOPA/PIPA คือ ? SOPA (Stop Online Piracy Act) และ PIPA (Protect Intellectual Property Act) คือกฎหมายป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ และกฎหมายป้องกันทรัพย์สินทางปัญญา โดยกฎหมายเหล่านี้มีเป้าหมายเพื่อทำการปราบปรามการเผยแพร่คอนเทนต์ที่ผิดลิขสิทธิ์ของเว็บไซต์ต่างประเทศซึ่งอยู่นอกเหนืออำนาจบังคับคดีของสหรัฐอเมริกา พูดง่ายๆ คือหากเว็บไซต์ต่างประเทศนำเนื้อหาหรือคอนเทนต์ที่ละเมิดลิขสิทธิ์ของสหรัฐมาเผยแพร่จะถูกสั่งบล็อก และเซ็นเซอร์ (Censor) เว็บไซต์ห้ามให้เผยแพร่บนโลกออนไลน์

ประท้วงทำไม? ผู้ประท้วงเชื่อว่า SOPA และ PIPA นั้นมีการร่างโดยใช้คำที่คลุมเครือ รวมทั้งการมอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ซึ่งนำไปสู่การเซ็นเซอร์ที่ไม่เป็นธรรมอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ปิดกั้นการสร้างนวัตกรรมออนไลน์ใหม่ๆ รวมทั้งการใช้ SOPA/PIPA เป็นเครื่องมือโจมตีเว็บไซต์ต่างๆ ที่ไม่รู้เท่าทันและกลายเป็นเหยื่อของกฎหมาย อย่างไรก็ตาม ผู้ที่สนับสนุนร่างกฏหมาย SOPA / PIPA กลับมองว่าข้อกล่าวหาดังกล่าวนั้น เป็นข้อกล่าวหาที่ไม่มีมูลความจริงหรือหลักฐานที่มารองรับแต่อย่างใด

ผลกระทบจาก…SOPA Google และ Wikipedia ไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายนี้ตั้งแต่แรกแล้ว เนื่องจากมีผลกระทบต่อผลการค้นหาจากเครื่องมือค้นหา และการโฆษณา ต่างๆ เช่น Affiliate Program ของ Amazon หรือ Adsense, Adwords ของ Google โดยผู้ประท้วงทั้งหลายต่างเชื่อว่า SOPA/PIPA มีร่างกฎหมายที่ไม่ชัดเจน ไม่เป็นธรรม และเป็นการปิดกั้นความคิดเห็นที่เสรี และการต่อยอดทางความคิด และการสร้างนวัตกรรมออนไลน์ใหม่ๆ รวมไปถึงการใช้ SOPA/PIPA เป็นเครื่องมือในการโจมตีคู่แข่งทางธุรกิจ ที่ไม่รู้เท่าทัน

แม้เรื่องเหล่านี้จะเป็นเรื่องไกลตัวไปบ้างแต่ก็แสดงให้เห็นว่ารัฐบาลหลายๆแห่งกำลังพยายามปิดกั้นเสรีภาพทางอินเตอร์เน็ทลงแม้ปากจะอ้างว่าปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา แต่กฎหมายที่ออกมามันพยายามปิดกั้นข้อมูลข่าวสารเพื่อไม่ให้สิ่งเหล่านี้เป็นของฟรีแบบในปัจจุบันเสียมากกว่า

ผลของกฎหมายที่เกิดขึ้นจะส่งผลกับไทยหรือไม่? ต้องเข้าใจกันก่อนว่ากฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ในสหรัฐอเมริกา กล่าวคือเป็นการควบคุมการเข้าถึงคอนเทนต์ของผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตในอเมริกานั่นเอง ตัวเว็บไซต์ต่างๆ ที่มีการละเมิดลิขสิทธิ์แต่ตั้งอยู่นอกประเทศอเมริกาก็ยังคงมีอยู่เพียงแต่ไม่สามารถเข้าถึงได้ผ่านเครือข่ายในประเทศเมื่อเป็นเช่นนั้นแล้ว ผลบังคับดังกล่าวจึงไม่ได้ส่งผลโดยตรงกับผู้ใช้งานในประเทศไทย

ยกตัวอย่างเช่น…. หาก SOPA มีผลบังคับใช้ในสหรัฐฯ ศาลจะสามารถสั่งห้ามทุกเว็บไซต์คบค้าหากินกับเว็บไซต์ละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งครอบคลุมถึงบรรดาเครือข่ายโฆษณาออนไลน์หรือเครือข่ายชำระเงินออนไลน์ เช่น เพย์แพล (PayPal) โดยบริการค้นหาข้อมูลออนไลน์ (search engine) อย่าง Google หรือเว็บท่าต่างๆจะถูกสั่งห้ามเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์เหล่านั้น บริษัทต่างๆ จะต้องรับผิดชอบทางกฏหมายสำหรับทุกสิ่งทุกอย่างที่ผู้ใช้โพสต์ เว็บไซต์อย่าง Facebook, YouTube, Twitter, Wikipedia หรือเว็บไหนก็ตามที่เปิดให้ผู้ใช้เข้ามาสร้างเนื้อหาเองได้ก็จะไม่รอดพ้นจากกฏหมายตัวนี้ที่สำคัญศาลจะสามารถสั่งผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตให้สะกัดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์นั้นได้ นั่นหมายความว่า บางเว็บอาจจะต้องปิดตัวลง

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ