เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การจัดทำงบประมาณ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ. ๒๕๕๐ พ. ร. บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ. ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕๓ / ๑ ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การเขียนโครงการ.
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์และแนวทางการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในการวิเคราะห์ ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ “บุคลากรของส่วนราชการในฐานะผู้รับผิดชอบ/ ผู้บริหารโครงการ (จึง)จำเป็นต้องพัฒนาทักษะและ ความสามารถในการวางแผนและบริหารโครงการ ทั้ง ในมิติของการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Management) และมิติของการ บริหารจัดการงบประมาณ (Strategic Performance Based Budgeting) เพื่อให้ โครงการบรรลุผลสัมฤทธิ์ตรงตามเจตนารมณ์ที่กำหนด ไว้”

การวางแผนและบริหารโครงการ 1. ทบทวน/ ตรวจสอบ/ ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการ ที่ผ่านมา 2. ริเริ่ม โครงการใหม่ และการวิเคราะห์ เบื้องต้น 3. วิเคราะห์และ วางแผน รายละเอียด โครงการ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรร งบประมาณ 5. ติดตาม ความก้าวหน้า ของการดำเนิน โครงการ 6. ประเมินผล การใช้งานและ ติดตาม ปรับปรุง/ แก้ไข

1. การทบทวนและตรวจสอบผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ 1.1 ความเบี่ยงเบนของคุณภาพงาน 1.2 ความเบี่ยงเบนของระยะเวลาดำเนินการ 1.3 ความเบี่ยงเบนของงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ ทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทบทวน/ตรวจสอบปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข พิจารณาตัดสินใจ

2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น พิจารณาที่มาและความสำคัญของปัญหา 1.1 ความจำเป็น 1.2 ความเร่งด่วน พิจารณาลักษณะของโครงการ 2.1 โครงการด้านกายภาพ 2.2 โครงการด้านบริการ 2.3 โครงการด้านการบริหารจัดการ ระบุกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พิจารณาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน พิจารณาความถูกต้องทางจริยธรรมและความเป็นธรรมในสังคม ระบุเป้าหมายผลผลิต คาดการณ์ผลลัพธ์หรือผลกระทบ

2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น(ต่อ) พิจารณาผลกระทบต่อโครงการหรือกิจกรรมอื่นที่มีอยู่แล้ว วิเคราะห์กระบวนการและแนวคิดของโครงการ โดยเฉพาะในเรื่อง ความสอดคล้องและผลกระทบในมิติเชิงยุทธศาสตร์ (พื้นที่ หน้าที่ วาระ) วิเคราะห์ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต ระบุทางเลือกอื่นและวิเคราะห์ความเหมาะสมของเทคโนโลยี 10.1 หนทางที่เลือกเหมาะสมกว่าทางเลือกอื่นอย่างไร 10.2 เทคโนโลยีที่เลือกใช้ เครื่องมือและองค์ความรู้เหมาะสมต่อเวลา กระบวนการ วิธีการ

2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น(ต่อ) วิเคราะห์ความเหมาะสมของระยะเวลา กระบวนการและวิธีการ ดำเนินงานเบื้องต้น พิจารณาศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่ พิจารณาความพร้อมและความเพียงพอของทรัพยากรและปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ศักยภาพและความเหมาะสมของหัวหน้าโครงการและ ทีมงาน 14.1 ความน่าเชื่อถือ 14.2 ความสามารถในการขับเคลื่อนงานอย่างมีประสิทธิผล 14.3 สามารถเข้าถึงได้ง่าย 14.4 ภาวะผู้นำ

3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ พิจารณาขอบเขตของโครงการ 1.1 มิติเชิงปริมาณ 1.2 มิติเชิงพื้นที่ตั้งโครงการ 1.3 มิติเชิงพื้นที่ให้บริการ วิเคราะห์รายละเอียดโครงสร้างผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบของ โครงการ และประโยชน์ต่อสาธารณชน พิจารณากฎระเบียบข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินโครงการ วิเคราะห์/ทบทวนความคุ้มค่าของโครงการ ความน่าเชื่อถือของ สมมุติฐาน และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4.1 ระบุและจำแนกต้นทุน 4.2 วิเคราะห์ความคุ้มค่าของมูลค่าต้นทุนกับผลที่จะได้รับ 4.3 วิเคราะห์ความคุ้มค่าของมูลค่าต้นทุนกับผลที่จะได้รับเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ(ต่อ) ระบุทางเลือก วิเคราะห์เปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกเทคโนโลยี ที่เหมาะสม 5.1 ต้นทุน –ต้นทุนของระบบ ต้นทุนการดำเนินการ ต้นทุนการบำรุงรักษา 5.2 การใช้งาน 5.3 ประสิทธิภาพ วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต 6.1 ระบุกิจกรรมหลัก/ย่อยทั้งหมดในกระบวนการ 6.2 วิเคราะห์ระยะเวลากิจกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม 6.3 วิเคราะห์ระยะเวลาของโครงการ 6.4 วิเคราะห์วิธีการดำเนินกิจกรรม วิเคราะห์รายละเอียด ศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่

3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ(ต่อ) วิเคราะห์แผนและความพร้อมในการใช้ทรัพยากรบุคคล ประมาณ ราคาและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม วิเคราะห์ความเสี่ยงของการดำเนินงานและแผนการแก้ไขปัญหา ที่อาจเกิดขึ้น*** วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวนเปรียบเทียบกับโครงการอื่นที่ใช้ ผลผลิตและกิจกรรมในลักษณะเดียวกัน

4. การวิเคราะห์และจัดทำคำของบประมาณ จัดลำดับความสำคัญของโครงการตามมิติต่างๆ 1.1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Desirability) 1.2 ความพร้อม/ความเป็นไปได้ (Feasibility) +ความจำเป็นเร่งด่วน +ความคุ้มค่า +ผลกระทบ พิจารณาจัดทำคำของบประมาณ

5. การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ จัดทำและอนุมัติแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ 1.1 ควรกำหนดรูปแบบและความถี่ในการติดตาม 1.2 ความสอดคล้องของผลงานที่ได้ในช่วงเวลาต่างๆ (milestone) กับ งบประมาณที่ใช้จ่าย พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ ทบทวน/ปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ แผนงบประมาณ และ ระยะเวลาดำเนินงาน สรุปผลการติดตามปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไขและบทเรียน

6. การประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ปรับปรุง/แก้ไข ประเมินผลผลิตและกระบวนการบรหารจัดการผลผลิต 1.1 ประเมินผลผลิตที่ได้รับจากโครงการ (output evaluation) 1.2 ประเมินการบริหารจัดการผลผลิต (output utilization evaluation) ประเมินผลลัพธ์และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 2.1 ประเมินผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ (outcome evaluation) 2.2 ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย (customers satisfaction evaluation) ติดตามผลกระทบ/การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบ สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไขและ บทเรียน

การวางแผนและบริหารโครงการ : มุมมองต่อการจัดการเรียนการสอน 1. ทบทวน/ ตรวจสอบ/ ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการ ที่ผ่านมา 2. ริเริ่ม โครงการใหม่ และการวิเคราะห์ เบื้องต้น 3. วิเคราะห์และ วางแผน รายละเอียด โครงการ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรร งบประมาณ 5. ติดตาม ความก้าวหน้า ของการดำเนิน โครงการ 6. ประเมินผล การใช้งานและ ติดตาม ปรับปรุง/ แก้ไข ประเมินผลการ จัดการเรียนการ สอนในภาพรวม ที่ผ่านมาโดย QA กำหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์คณะ แผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์และ วางแผนใน รายละเอียด ของโครงการ บูรณาการกิจกรรม วิเคราะห์และ จัดสรร งบประมาณ ประจำปี อนุมัติโครงการ ติดตามข้อมูล ตัวชี้วัด/ ความก้าวหน้า โครงการ KPI/KQI ติดตามผลบัณฑิต/ ผู้ใช้บัณฑิต/ จำนวนบัณฑิต ฯลฯ QA-TQA