หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
Advertisements

โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
Lean Health Care Lean. คือ. TQM. โดยการกำจัด Waste
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU
เพื่อรับการประเมินภายนอก
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
ถุงเงิน ถุงทอง.
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
OCCURRENCE REPORT FORM
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
L051 ชื่อเรื่อง / โครงการ หัวหน้าทีม ชื่อ...นางสาวสุรีรัตน์ นามสกุล...ช่วงสวัสดิ์ศักดิ์ สมาชิกทีม ชื่อ...น.ส.จารุวรรณ... นามสกุล..เหล่านรินทวุฒิ
การประยุกต์ใช้ในงานบริการสุขภาพ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงการ Lean เรื่องกระบวนการรับเวร-ส่งเวร
โดย นางภารดี เจริญวารี
หน่วยตรวจพิเศษหัวใจและหลอดเลือด ศูนย์โรคหัวใจฯ ชั้น 6
การสมัครงานออนไลน์ (E-Application)
การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ระบบเจ้าหนี้ ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
กำหนดงานพัฒนาคุณภาพที่จะสร้างระบบช่วยกันในเครือข่าย
Value Stream Mapping ข้อมูลจากการประชุม
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
Siriraj Lean day วันศุกร์ 11 มีนาคม 2554
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
TQM M4 แจ้งวัฒนะ - ราชพฤกษ์.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
หลักการเขียนโครงการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ - จ่ายเงินสด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire L021 โครงการ หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire

หอผู้ป่วย 84 ปี ชั้น 4 ตะวันออก งานการพยาบาลผู้ป่วยพิเศษ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช

ที่ปรึกษาโครงการ นางอุษา ศักดิ์วงศ์ ที่ปรึกษาโครงการ นางอุษา ศักดิ์วงศ์ สมาชิกทีม นางสาวอินทิรา พาลพล นางสาวรุ่งแสง สุพรรณ e-mail :in.siriraj@gmail.com

ขอบเขตของเรื่อง/โครงการ (SIPOC) Suppliers/Providers Inputs Process Output Customers พยาบาล ผู้ปฏิบัติงานพยาบาล -ธุรการ -แบบบันทึกการใช้Alcohol gel -การระบุหมายเลขขวด -Alcohol gel จุดเริ่มต้น:เปิดใช้ Alcohol gel จุดสิ้นสุด:ใช้ Alcohol gel หมด 1.ใช้ Alcohol gel หมดก่อนวันหมดอายุ ≥ 60% ลูกค้าภายนอก ผู้ป่วย และญาติ ลูกค้าภายใน พยาบาล ผู้ปฏิบัติงานพยาบาล แพทย์ ธุรการ

แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่าก่อนปรับปรุง:กระบวนการหมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire เตรียมห้องรับผู้ป่วยใหม่ นำ Alcohol gel ที่ระบุวัน เดือน ปี ที่เปิดและ Expire ไว้ประจำห้องผู้ป่วยโดยไม่ระบุหมายเลขขวด เมื่อผู้ป่วยมา Admit แนะนำการใช้ Alcohol gel เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน ไม่นำ Alcohol gel ออกจากห้อง เก็บไว้ใช้ต่อกับผู้ป่วยรายต่อไป เมื่อ Alcohol gel หมดอายุเปลี่ยนขวดใหม่

บุคคลากรไม่ได้ใช้ความรู้พัฒนางานอย่างเต็มศักยภาพ Waste ( DOWNTIME) หัวข้อ ความสูญเปล่า Defect rework: ทำงานซ้ำเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง Overproduction: การผลิตหรือให้บริการมากเกินจำเป็น จัดวาง Alcohol gel ในบริเวณที่มีการใช้น้อยโดยไม่ได้หมุนเวียน เช่น ห้องว่าง Waiting: การรอคอย Not using staff talent: ภูมิรู้ที่สูญเปล่า บุคคลากรไม่ได้ใช้ความรู้พัฒนางานอย่างเต็มศักยภาพ Transportation: การเดินทาง Inventory: วัสดุคงคลัง Motion: การเคลื่อนไหว Excessive processing:ขั้นตอนมากเกินจำเป็น

เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่าหลังปรับปรุง:กระบวนการหมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire รับผู้ป่วยใหม่ นำ Alcohol gel ที่ระบุวัน เดือน ปี ที่เปิดและ Expireไปใช้ในห้องผู้ป่วย (ขวดที่เปิดใช้ก่อน) บันทึกลงในสมุด โดยระบุหมายเลขขวดและหมายเลขห้องพร้อมทั้งอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงวิธีการใช้ บุคลากร รณรงค์การใช้ Alcohol gel ผู้ป่วยและญาติ กำหนดผู้ปฏิบัติงานพยาบาลเวรเช้า คนที่ 3รับผิดชอบตรวจสอบ Alcohol gel ที่เปิดใช้ก่อนในสมุดบันทึก ว่าอยู่ที่ใดปริมาณเท่าไรเพื่อนำมาหมุนเวียนใช้ในจุดที่ใช้บ่อย เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน นำ Alcohol gel มาจัดเรียงตาม วัน เดือน ปี ที่เปิดใช้ก่อน-หลังเพื่อเตรียมใช้กับผู้ป่วยรับใหม่รายต่อไป/หมุนเวียนใช้บริเวณที่ใช้บ่อย

เหตุผลการทำ (Reason for Action) ปัญหา –Alcohol gel ที่ประจำตามห้องผู้ป่วยหมดอายุก่อนที่จะใช้หมดเป็นจำนวนมาก (Alcohol gel จะหมดอายุภายหลังเปิดใช้ 28 วัน)

สภาพการณ์ปัจจุบัน (Initial State) มีการใช้ Alcohol gel หมดขวดก่อนExpire มากขึ้น

เป้าหมาย ประหยัดค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน เพื่อใช้ Alcohol gel อย่างคุ้มค่าหมดขวดก่อนที่จะหมดอายุ

การวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา (Gap Analysis) คน ผู้ป่วยและญาติไม่เข้าใจและไม่เห็นความสำคัญของการใช้ บุคลากรไม่ตระหนักในเรื่องการใช้ Alcohol gel บุคลากรไม่คำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า Alcohol gel Expire ก่อนหมดขวด จัดวางAlcohol gel หลายตำแหน่ง การปฏิบัติการพยาบาลมีความเร่งรีบ ไม่มีการหมุนเวียน Alcohol gel สิ่งแวดล้อม ไม่ได้กำหนดผู้ตรวจสอบ กระบวนการ

แนวทางในการแก้ไข (Solution Approach) สาเหตุ: Root cause addressed แนวทางแก้ไข: Proposed solution วัตถุประสงค์: Supports Objective - Alcohol gel Expire ก่อนใช้หมด - จัดทำสมุดบันทึกหมายเลขขวดและวันเปิดใช้ วัน Expire ของ Alcohol gel - กำหนดผู้รับผิดชอบตรวจสอบและหมุนเวียน Alcohol gel ที่เปิดใช้ก่อนและเหลือมากไปยังบริเวณที่มีการใช้บ่อย - รณรงค์ให้บุคลากร ผู้ป่วยและญาติ ใช้ Alcohol gel ทุกครั้งที่ให้การพยาบาลหรือเข้าเยี่ยมผู้ป่วย -ใช้ Alcohol gel อย่างคุ้มค่าหมดขวดก่อน Expire

กิจกรรมสำคัญที่ต้องทำ(Outstanding Actions) นำเสนอโครงการต่อหัวหน้าหอผู้ป่วยและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จัดทำสมุดตารางบันทึกหมายเลขขวดของ Alcohol gel จัดทำแนวทางปฏิบัติในการเช็ค Alcohol gel ประชุมชี้แจงให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องรับทราบและปฏิบัติตามแนวทาง ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

สรุปผลการดำเนินการ 9 % 74.56 % > 60 % 70.68 % 78 % ตัวชี้วัด (KPI) เป้าหมาย (Target) ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ ผลลัพธ์ก่อน การดำเนินการ เม.ย.52 ผลลัพธ์หลังการ ดำเนินการครั้งที่ 1 พ.ค.-ธ.ค. 52 ผลลัพธ์หลังการดำเนินการ ครั้งที่ 2 ม.ค.-มิ.ย. 53 ผลลัพธ์หลังการดำเนินการครั้งที่ 3 ก.ค.- ส.ค. 53 1. อัตราการใช้ Alcohol gel หมดก่อนวันหมดอายุ > 60 % 9 % 74.56 % 70.68 % 78 %

บุคลากรมีเป้าหมายเดียวกันทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ ปัจจัยความสำเร็จ บุคลากรมีเป้าหมายเดียวกันทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ คำปรึกษาจากหัวหน้าหอผู้ป่วย ความร่วมมือของผู้ป่วยและญาติ

บางครั้งบุคลากรลืมการหมุนเวียนใช้ Alcohol gel ปัญหา/อุปสรรค บางครั้งบุคลากรลืมการหมุนเวียนใช้ Alcohol gel