การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
Nursing Resources Center
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
Management Information Systems
การใช้คลิปวีดิทัศน์ในการจัดการความรู้ ในงานห้องสมุด : กรณีศึกษา มทรอ.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
คำอธิบายรายวิชา.
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
หลักการเขียนโครงการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนโครงการ.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล Faculty of Nursing, Mahidol University การประเมินและวิเคราะห์หลักฐาน อรพรรณ โตสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ ม มหิดล orapan.tho@mahidol.ac.th

เรียกขั้นตอนนี้ว่า เป็นการทำ critical appraisal Faculty of Nursing, Mahidol University หลักฐานที่คัดเลือกได้ ต้องผ่านการประเมินคุณภาพว่าเป็นหลักฐานที่มีความน่าเชื่อถือ และสามารถนำไปใช้ได้หรือไม่ เรียกขั้นตอนนี้ว่า เป็นการทำ critical appraisal orapan.tho@mahidol.ac.th

คืออ่านเอกสารทั้งฉบับเพื่อประเมินว่า Faculty of Nursing, Mahidol University วิธีการ คืออ่านเอกสารทั้งฉบับเพื่อประเมินว่า ๑ หลักฐานนั้นๆสามารถตอบคำถามหรือ foreground question ที่กำหนดไว้หรือไม่ orapan.tho@mahidol.ac.th

Faculty of Nursing, Mahidol University สามารถวิเคราะห์ได้จากการอ่านประเด็นที่มีการสรุปไว้ใน abstract และในเนื้อหาว่าตรงกับ foreground question หรือไม่ และ settings ที่ทำการศึกษามีความคล้ายคลึงกับ settings ที่เราจะนำหลักฐานนั้นๆไปใช้ (แหล่งปฏิบัติงานของท่าน) หรือไม่ orapan.tho@mahidol.ac.th

Faculty of Nursing, Mahidol University ตัวอย่าง คำถาม คือ อะไร คือปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิด MODS ใน ผป severe injury ได้ orapan.tho@mahidol.ac.th

Faculty of Nursing, Mahidol University ค้นได้เอกสาร เป็นงานวิจัย case control study ศึกษาใน ผู้ป่วยบาดเจ็บรุนแรงที่มีอายุ มากกว่า ๑๘ ปีขึ้นไป ที่มารับการรักษาตัวใน trauma center ของรพ รัฐ แห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา พบว่า ผป ที่มี ภาวะ SIRS ใน ๔๘ ชั่วโมงหลังการบาดเจ็บ มีโอกาสเกิด MODS ได้สูงกว่า ผู้ป่วยที่ไม่พบ SIRS ถึง ๓ เท่า ตอบคำถามหรือ foreground question ที่กำหนดไว้ได้ และ settings มีความคล้ายคลึงกับ แหล่งปฏิบัติงานของเรา orapan.tho@mahidol.ac.th

ตอบได้ ว่าผป ที่มี SIRS มีอัตราการเกิด MODS สูงกว่ากี่เท่า Faculty of Nursing, Mahidol University ๒ ผลการศึกษาคืออะไร ประเด็นที่วิเคราะห์คือผลลัพธ์ของการศึกษาสามารถตอบ foreground question ได้อย่างไร ? ตอบได้ ว่าผป ที่มี SIRS มีอัตราการเกิด MODS สูงกว่ากี่เท่า orapan.tho@mahidol.ac.th

เพื่อเป็นการตรวจสอบคุณภาพของหลักฐาน Faculty of Nursing, Mahidol University ผลลัพธ์ของการศึกษา มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในการศึกษาหรือไม่ และผลการศึกษาสรุปมาจากข้อมูลที่ได้จากกระบวนการเก็บข้อมูลหรือไม่ เพื่อเป็นการตรวจสอบคุณภาพของหลักฐาน orapan.tho@mahidol.ac.th

Faculty of Nursing, Mahidol University ๓ ผลการศึกษามีความตรงหรือมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ การตอบคำถาม ข้อนี้ควรใช้ checklist เพื่อตอบคำถาม เพราะงานวิจัยที่ใช้ design ต่างกันมีการประเมินและบันทึกรายละเอียดที่ต่างกัน   orapan.tho@mahidol.ac.th

Faculty of Nursing, Mahidol University ๔ ผลการศึกษาสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือปรับปรุงคุณภาพ การบริการในหน่วยงานตามประเด็นที่เราต้องการได้จริงหรือไม่ orapan.tho@mahidol.ac.th

-เหมาะสมกับบริบทหรือไม่ -เหมาะกับบุคลากรในหน่วยงานหรือไม่ Faculty of Nursing, Mahidol University -เหมาะสมกับบริบทหรือไม่ -เหมาะกับบุคลากรในหน่วยงานหรือไม่ -หน่วยงานมีทรัพยากรดังกล่าวหรือไม่ -การนำผลการศึกษาจากหลักฐานฉบับนี้ไปใช้ สามารถทำให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานหรือไม่   orapan.tho@mahidol.ac.th

การสกัดเนื้อหาจากหลักฐาน Faculty of Nursing, Mahidol University การสกัดเนื้อหาจากหลักฐาน การสกัดเนื้อหาคือการสกัดประเด็นสำคัญจากหลักฐานที่เลือก ประกอบด้วย ๕ ส่วน เรียกว่า เป็น data extraction sheet ๑ ลักษณะของหลักฐาน ๒ ตัวอย่างที่ใช้ ๓ ระเบียบวิธีวิจัยและรายละเอียด ๔ ผลการศึกษา ๕ การนำไปใช้เพื่อการตอบ foreground question orapan.tho@mahidol.ac.th

Data extraction sheet ประกอบด้วย Faculty of Nursing, Mahidol University Data extraction sheet ประกอบด้วย ชื่อเรื่องของหลักฐานหรืองานวิจัย/ ชื่อผู้ศึกษา/ ปีที่ตีพิมพ์เอกสาร/ วัตถุประสงค์การศึกษา/ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา/ orapan.tho@mahidol.ac.th

-การประเมินคุณภาพหลักฐาน Faculty of Nursing, Mahidol University -ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาและการวัดตัวแปร รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล -intervention (รายละเอียดของ intervention) -ผลการศึกษา -การนำเนื้อหาไปตอบ foreground question ที่กำหนดไว้ -การประเมินคุณภาพหลักฐาน orapan.tho@mahidol.ac.th

Faculty of Nursing, Mahidol University ในการสกัดเนื้อหาจากหลักฐาน นิยมทำเป็นตาราง data extraction sheet เพื่อให้เกิดความสะดวกในการนำไปสังเคราะห์ในขั้นตอนต่อไป orapan.tho@mahidol.ac.th

ชื่อผู้แต่ง/ปีที่ตีพิมพ์ เนื้อหาที่ตอบ foreground question Faculty of Nursing, Mahidol University ชื่อผู้แต่ง/ปีที่ตีพิมพ์ กลุ่มตัวอย่าง เนื้อหาที่ตอบ foreground question orapan.tho@mahidol.ac.th

ตัวอย่างการวิเคราะห์ และการทำตารางสกัดเนื้อหา Faculty of Nursing, Mahidol University ตัวอย่างการวิเคราะห์ และการทำตารางสกัดเนื้อหา orapan.tho@mahidol.ac.th

Mahidol University Wisdom of the land

Mahidol University Wisdom of the land

Mahidol University Wisdom of the land

Mahidol University Wisdom of the land

Mahidol University Wisdom of the land

Mahidol University Wisdom of the land

Mahidol University Wisdom of the land

Mahidol University Wisdom of the land

Mahidol University Wisdom of the land

Faculty of Nursing, Mahidol University คำถาม orapan.tho@mahidol.ac.th