การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
บทที่ 15 การออกแบบระบบ.
(Sensitivity Analysis)
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
Criterion-related Validity
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
มาตรฐานการควบคุมภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
กระบวนงาน การฝึกอบรม ประชุม สัมมนา.
การเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย (Participant Information Sheet) โดย นางนวี เอกศักดิ์ กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหิดล (Layperson)
หน่วยที่ 5 ศูนย์บริการคอมพิวเตอร์พกพาแบบแท็บเล็ต การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล วิจัย และ พัฒนาการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์พกพาแบบแท็บเล็ต กลุ่มที่ 5.
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเขียนข้อเสนอโครงการ
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด
การวัดและประเมินผล.
กิจกรรม เสริมสร้างมาตรฐานการทำงานที่ถูกต้องและ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เนื้อหา 1. การทบทวนความรู้ที่เกี่ยวกับงานก่อสร้างตั้งแต่ หมวด 1-6 และ ENDPRODUCT.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช พ.ศ. 2546

การควบคุมระบบปฏิบัติการ การจำแนกประเภทผู้ป่วยในปัจจุบัน พยาบาลหัวหน้าเวร/หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นผู้จำแนกประเภทผู้ป่วยเมื่อใกล้เวลาสิ้นสุดแต่ละเวร เพื่อ ประเมินผล (Re-evaluation) การจัดอัตรากำลังในเวรที่ผ่านมา และ คาดประมาณความต้องการบุคลากรให้กับเวรถัดไป ป้องกันความลำเอียงที่เกิดจากการให้ค่าการจำแนกที่สูงเกินความเป็นจริงเพื่อให้ได้บุคลากรเพิ่มขึ้นในเวรตนเอง

การควบคุมระบบปฏิบัติการในปัจจุบัน (ต่อ) ward ส่งใบแจ้งจำนวนผู้ป่วยแต่ละประเภทให้ ผู้รับผิดชอบในระดับงานและฝ่ายการพยาบาล ได้แก่ ผู้ช่วยหัวหน้างาน และ รองหัวหน้าฝ่ายด้านการบริหาร

วัตถุประสงค์ กำหนดระบบและเกณฑ์การประเมินความเชื่อถือได้ของการจำแนกประเภทผู้ป่วย นำไปใช้ทดสอบความถูกต้องของการจำแนกประเภทผู้ป่วยของผู้จำแนกในหอผู้ป่ เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือจำแนกประเภทผู้ป่วยและความสามารถในการประเมินความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย

ขั้นตอนของระบบ IRR TESING ผู้ทำหน้าที่ IRR Tester มีคุณสมบัติดังนี้ มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยในกลุ่มนั้นๆเป็นอย่างดี มีความรู้ในการใช้เครื่องมือจำแนกประเภทผู้ป่วยเป็นอย่างดี สามารถปฏิบัติบทบาทของ IRR Tester ได้ ได้คะแนนทดสอบ IRR Score มากกว่า 80%

Peer Review ในช่วงเริ่มต้นระบบ โดย IRR Tester คือ คณะกรรมการอัตรากำลังฯที่เป็นตัวแทนในงานนั้นๆ ทำหน้าที่ Outer Rater Unit Rater คือ ผู้ช่วยหัวหน้างานด้านบริหาร และหัวหน้าหอผู้ป่วยใน ward ที่ถูกสุ่มเลือก จำนวน 20% ของ ward ทั้งหมด

วิธีการ Interactive Validation สุ่มเลือกผู้ป่วยจำนวน 5 ราย IRR-Testerจากภายนอกหน่วยงาน และ Unit Raters จำแนกประเภทผู้ป่วยทั้ง 5 รายที่สุ่มเลือกโดยใช้เกณฑ์ของฝ่ายการพยาบาล ในการสังเกตครั้งเดียวกัน ผู้ประเมิน(IRR-Tester) ลงบันทึกจำนวนความคลาดเคลื่อนของการจำแนกผู้ป่วยแต่ละราย ในส่วนของตัวแปรเกณฑ์ที่มีการจำแนกไม่ตรงกัน ในแบบบันทึกการประเมินค่าความเชื่อถือได้ในการจำแนกประเภทผู้ป่วย หรือ Interrater Reliability (IRR)Record Sheet

วิธีการ (ต่อ) 4. นำผลการประเมินไปหาค่าความคลาดเคลื่อนของการจำแนกประเภทผู้ป่วย หรือ Error Coefficient(%) และ ค่าความเชื่อถือได้ หรือ Reliability Coefficient(%) 5.ผู้ประเมิน(IRR-Tester)สรุปปัญหา วางแผน แก้ไขปัญหาและลงบันทึกการติดตามผล รวมทั้งประเมินซ้ำจนกว่าค่าความเชื่อถือได้ของการจำแนกประเภทผู้ป่วย จะเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 80       

การดำเนินงาน IRR Testing นัดหมาย Unit Rater จัดทำตารางสำหรับการทำ IRR Testing ในแต่ละหอผู้ป่วยที่สุ่มเลือก(20%) แจ้งวันที่จะทำการทดสอบล่วงหน้าก่อนการประเมิน

เกณฑ์การประเมินผล ค่าความคลาดเคลื่อน หรือ Error Coefficient(%) น้อยกว่า 20% ค่าความเชื่อถือได้ หรือ Reliability Coefficient(%) มากกว่า 80%

การฝึกอบรม IRR Tester จุดประสงค์ของ IRR Testing วิธีการทำ IRR Testing การใช้แบบบันทึก IRR Score การกำหนดข้อผิดพลาด การให้ความรู้/ทบทวนเมื่อทำการทดสอบ การให้ข้อเสนอแนะอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับการ ทดสอบ

IRR Record Sheet