ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้ Senior Project Proposal Presentation : Virtual Fitting Room Using Augmented Reality ห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้ นายณัชนนท์ วงษ์วิไล รหัสประจำตัว 5031023021 นายดนัยนันท์ เก่าเงิน รหัสประจำตัว 5030161721
ที่มาและความสำคัญของปัญหา การเติบโตของธุรกิจเสื้อผ้า การลองเสื้อในธุรกิจเสื้อผ้าขายปลีก ปัญหาการลองเสื้อ
Future of fitting room
ห้องลองเสื้อเสมือน
Augmented Reality ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Mixed_reality
Augmented Reality ที่มา : http://class.thewitstudio.com/2010/05/18/เทคโนโลยี-สุดล้ำกับ-augmented-reality/
หลักการทำงาน Input image Human pose estimation Generate virtual cloth using human pose Merging virtual object Next image
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง Human pose estimation Merging virtual object
Human pose estimation เป็นการประมาณตำแหน่งของคนในท่าทางต่างๆ ใช้เทคนิคทาง Image processing ในโครงงานนี้ จะสนใจเฉพาะ upper body
Human pose estimation : Color space ขอบเขตหรือช่วงของสี มีการควบคุมตัวแปรที่แตกต่างกันในแต่ละ space HSV ใช้เลือกช่วงสีที่มีเฉดเดียวกันได้ง่ายกว่า
Human pose estimation : Feature extraction Ex. การ detect ลูกปิงปอง(เฉดสีส้ม)
Merging virtual object การรวมภาพวัตถุเสมือนเข้ากับภาพต้นฉบับ ในโครงงานนี้ จะสนใจเฉพาะ virtual cloth
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง HUMAN POSE ESTIMATION FROM MONOCULAR IMAGE CAPTURES Automatic Registration of Virtual Objects onto Human Image Sequences A novel fitting algorithm using the ICP and the particle filters for robust 3d human body motion tracking Vision-based two hand detection and tracking Robust real-time upper body limb detection and tracking
HUMAN POSE ESTIMATION FROM MONOCULAR IMAGE CAPTURES ที่มา : Huei-Yung Lin, Ting-Wen Chen, Chih-Chang Chen, Chia-Hao Hsieh and Wen-Nung Lie, “Human pose estimation from monocular image captures”, Multimedia and Expo, IEEE International Conference on, 2009.
Automatic Registration of Virtual Objects onto Human Image Sequences ที่มา : Hoshino, J., Saito, H. and Yamamoto, M., “Automatic Registration of Virtual Objects onto Human Image Sequences”, Pattern Recognition, Proceedings 15th International Conference on, 2000.
A novel fitting algorithm using the ICP and the particle filters for robust 3d human body motion tracking ที่มา : Daehwan Kim and Daijin Kim, “A novel fitting algorithm using the ICP and the particle filters for robust 3d human body motion tracking”, Vision networks for behavior analysis, Proceeding of the 1st ACM workshop on, 2008.
Vision-based two hand detection and tracking ที่มา : Jiajun Wen and Yinwei Zhan, “Vision-based two hand detection and tracking”, Interaction Sciences: Information Technology, Culture and Human, Proceedings of the 2nd International Conference on, 2009.
Robust real-time upper body limb detection and tracking ที่มา : Matheen Siddiqui and Gerard Medioni, “Robust real-time upper body limb detection and tracking”, Video surveillance and sensor networks, Proceedings of the 4th ACM international workshop on, 2006.
แนวทางการดำเนินงาน แบ่งแนวทางในการดำเนินงานได้ 3 ส่วนหลักดังนี้ ส่วนศึกษาการควบคุมปัจจัยภายนอก ส่วนพัฒนาโปรแกรมการลองเสื้อเสมือน ส่วนพัฒนา User Interface
ขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลา(เดือน) ผู้รับผิดชอบ * ส.ค. 53 ก.ย.53 ต.ค. 53 พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 53 1.ศึกษาและรวบรวมข้อมูล ความต้องการของระบบ 1,2 2.ศึกษาปัจจัยภายที่มีผลในการทำงานของโปรแกรม 1 3.ศึกษาและพัฒนาโปรแกรมในส่วนการรับภาพจากกล้อง 2 4.ศึกษาเทคนิคต่างๆ ของ Image processing 5.ศึกษาและพัฒนาในส่วน Object Tracking 6.ศึกษาและพัฒนาในส่วน Human Pose Estimation 7.ศึกษาและพัฒนาในส่วน Merging Virtual Object 8.ออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานผู้ใช้ 9.พัฒนาโปรแกรมห้องลองเสื้อเสมือนโดยใช้ออคเมนต์เตดเรียลลิตี้ 10.ทดสอบและแก้ไขการทำงานของโปรแกรม * 1 = ณัชนนท์ , 2 = ดนัยนันท์
ขอบเขตของงาน โปรแกรมนี้จะถูกพัฒนาและสามารถทำงานได้บนระบบปฏิบัติการ Windows XP/Vista โปรแกรมที่พัฒนาจะต้องใช้ในห้องปิดที่มีการกำหนดฉากหลัง, การควบคุมแสง, ตำแหน่งของกล้อง และตำแหน่งของผู้ใช้งาน โปรแกรมที่พัฒนาจะลองรับแค่การลองเสื้อเท่านั้น
Q&A