ข้อมูลการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นริศ ภูมิภาคพันธ์ ชวลิต วิทยานนท์
Advertisements

ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
วัดพระแก้ว.
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
พื้นที่อันตรายจากแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
ประติมากรรม พระพุทธรูป พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย อาจแบ่งออกได้เป็น
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
พุทธประวัติ.
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
พัฒนาการพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
นางสาว โศจิรัตน์ หลงอุย เลขประจำตัว คณะศึกษาศาสตร์
นางสาวสุกัญญา จันทร์ทอง (ฝน) คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิทยาการสิ่งทอ
แนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
ศาสนา.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
แหล่งท่องเที่ยวในสุพรรณบุรี
สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอ สามร้อยยอด
คำนำ งานนำเสนอเรื่องใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ง20210เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 โปรแกรม PowerPoint 2007 เพื่อศึกษาในเรื่อง เขาวัง(พระนครคีรี) ผู้จัดหวังว่าคงเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ศึกษาหากมีข้อผิดพลาประการใดผู้จัดทำขออภัยมา.
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
จังหวัดพะเยา นางสาววชิรา สร้อยสน รหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
อำเภอพนัสนิคม โดย นางสาวสิราวรรณ พรงาม.
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
สถานที่ท่องเที่ยว ติดบางแสนของจังหวัดชลบุรี
บ้านของฉัน “สุพรรณบุรี”
นครชุมเมืองเก่า โดย พลอยกนก เวชเจริญ.
อุทยานแห่งชาติภูเรือ
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดน่าน จัดทำโดย นส.ธัญลักษณ์ ขันโต รหัสนิสิต
สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยา
WELCOME To ANGTHONG.
นางสาวชุธิดา สุขสวัสดิ์ รหัสนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ < วาริชศาสตร์ >
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร
ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหว ในประเทศไทย Thailand Seismic Observatories
กลุ่มที่14 เรื่องแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุราษร์ธานี
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
ข. ประเภทตำนาน-พงศาวดารท้องถิ่น
แหล่งท่องเที่ยวไทย.
กรุงศรีอยุธยา.
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
กรุงธนบุรีเกิดความไม่สงบ
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดลำพูน จัดทำโดย ด.ญ.ธวัลรัตน์ ศรีวรรณา ชั้น ม.1/4 เลขที่ 17 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
LAO Best Asian Lao Rapper from Texas- Kay feat. Tony Vee-Struggle
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ชุมชนท่าเตียน.
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
8จังหวัดภาคเหนือตอนบน
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
จัดทำโดย ด.ญ. ชนิตา พรหมรักษ์ เลขที่ 17 กลุ่ม 13
สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย โดย พิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์ ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ข้อมูลการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย ข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ ข้อมูลจากเครื่องมือวัดแผ่นดินไหว

ข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ แหล่งที่มาของข้อมูล หลักศิลาจารึก ตำนานใบลาน จดหมายเหตุ พงศาวดาร หนังสือพิมพ์ บันทึกจากประเทศข้างเคียง หลักฐานทางโบราณคดี

ข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย (ก่อน พ.ศ.1781) สมัยสุโขทัย (พ.ศ.1781-1893) สมัยอยุธยา (พ.ศ.1893-2311) สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2311-2325) สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.2325-ปัจจุบัน)

สมัยก่อนสุโขทัย (ก่อน พ.ศ.1781) เมืองแถน (เมืองเดียนเบียนฟูในเวียดนามเหนือ) หริภุญไชย (ลำพูน) พ.ศ.500 พระมหาปราสาทโอนไปเป็นหลายที โยนกนคร พ.ศ.480, 481, 510, 515, 1003, 1077 พ.ศ.1003 “....สุริยะอาทิตย์ก็ตกไปแล้ว ก็ได้ยินเสียงเหมือนดั่งแผ่นดินดังสนั่นหวั่นไหว ประดุจดังว่าเวียงโยนกนครหลวงที่นี้จักเกลื่อนจักพังไปนั้นแล แล้วก็หายไปครึ่งหนึ่ง ครั้นถึงมัชฌิมยามก็ซ้ำดังมาเป็นคำรบสองแล้วก็หายนั้นแล ถึงบัวฉิมยาม ก็ซ้ำดังมาเป็นคำรบสาม หนที่สามนี้ดังยิ่งกว่าทุกครั้งทุกคราวที่ได้ยินมาแล้ว กาลนั้นเวียงโยนกนครหลวงที่นั้นก็ยุบจมลงเกิดเป็นหนองอันใหญ่”

สมัยสุโขทัย (พ.ศ.1781-1893) สุโขทัย พ.ศ.1860 สมัยพญาลิไท “.......เมียพญาลิไทตั้งจิตอธิษฐานออกผนวชมีจารึกว่า อธิษฐานดังนี้แล้ว จึงรับสรณาคมต่อพระอุปัชฌาย์ ขณะนั้นแผ่นดินไหวทั่วทุกทิศเมืองสุโขทัย ครั้นทรงผนวชแล้ว เสด็จลงมาจากพระมหาสุวรรณเหมปราสาท ทรงไม้เท้าจรดจรดลด้วยพระบาทสมเด็จพระราชดำเนินไปป่ามะม่วง ขณะประดิษฐานฝ่าพระบาทลงยังพื้นธรณี ปฐพีก็หวั่นไหวทั่วทุกทิศหินสาธาเข้าพรรษาวันนั้นจึงเสด็จออกเสวยพระโชรศ ขณะนั้นไม่ควรเลยสรรพ ไม่เสบยเสพยนานาอากาศดาษ สุริยะเมฆาจันทร์ปรายต์กับดาราฤกษ์ทั้งปวงยิ่งกว่าทุกวันด้วยฉะนั้น จึงเสด็จบรรพชาเป็นภิกษุในระหว่างพัทธสีมานั้น ขณะนั้นนาคราชตนหนึ่งอยู่โดยบุรพทิศเมืองสุโขทัยนั้น ยกพังพานขึ้นสูงพันคน แปรตาไปเฉพาะป่ามะม่วงนั้น เห็นรอยผลุดพลุ่งกลางอากาศลงต่อแผ่นดิน อนึ่งเวลานั้นได้ยินเสียงระฆังดนตรีดุริยางค์ ไพเราะใกล้โสตสของชนเป็นอันมาก จะพรรณานับมิได้ แต่บรรดามหาชนที่มาสโมสรสันนิบาตในสถานที่นั้น ย่อมเห็นการอัศจรรย์ประจักษ์ทุกคน เหตุด้วยเสด็จออกทรงบำเพ็ญพระบารมี เมื่อทำอัษฎางติกศีล เมื่อฤดูคิมหันต์ไม่มีฝน ด้วยอำนาจศีลและความอธิษฐานพระบารมีด้วย ปถวีก็ประวัติกัมปนาทหวาดหวั่นไหว เพทธาราวิรุณหกก็ตกลงมาในฤดูแล้ง แสดงอัศจรรย์สรรเสริญในการสร้างพระบารมี.......”

สมัยอยุธยา (พ.ศ.1893-2311) สุโขทัย พ.ศ.1905, 1909 เชียงใหม่ พ.ศ.2025, 2088 พ.ศ. 2088 ยอดเจดีย์หลวงสูง 86 เมตร พังลงมาเหลือ 60 เมตร อยุธยา พ.ศ.2048, 2070, 2089, 2127, 2131, 2132, 2228 น่าน พ.ศ.2103 เจดีย์หลวง สูง 17 วา กว้าง 10 วา หักพังลง ย่างกุ้ง, พม่า พ.ศ.2111, 2172 พระเจดีย์เมืองร่างกุ้งเกิดความเสียหาย

เชียงใหม่ พ.ศ.2088 ยอดเจดีย์หลวงสูง 86 เมตร พังลงมาเหลือ 60 เมตร

สมัยอยุธยา (พ.ศ.1893-2311) (ต่อ) กำแพงเพชร พ.ศ.2127 เชียงแสน พ.ศ.2247, 2258, 2260 พ.ศ.2258 พระเจดีย์วิหารหักพังทลาย 4 ตำบล หงสาวดี, พม่า พ.ศ.2300 ฉัตรยอดพระเจดีย์มุตางหักลงมา

สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2311-2325) กรุงเทพฯ พ.ศ.2311, 2312 เชียงใหม่ พ.ศ.2317

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.2325-ปัจจุบัน) สมัยรัชกาลที่1 หลวงพระบาง พ.ศ.2335 น่าน พ.ศ.2336, 2342, 2344 สมัยรัชกาลที่2 มณฑลยูนาน พ.ศ.2367 ประชาชนชาวจีนเสียชีวิต 2,000 คน น่าน พ.ศ.2363 ยอดมหาธาตุเจ้าภูเวียงแช่แห้ง ก็หักลงห้อยอยู่

สมัยรัชกาลที่3 กรุงเทพฯ พ.ศ.2375, 2376, 2378 น้ำในแม่น้ำกระฉอกออกมา พม่า พ.ศ.2382 สมัยรัชกาลที่4 กรุงเทพฯ พ.ศ.2417 สมัยรัชกาลที่5 กรุงเทพฯ พ.ศ.2429, 2430 น่าน พ.ศ.2422

สมัยรัชกาลที่6 กรุงเทพฯ พ.ศ.2455 สมัยรัชกาลที่7 กรุงเทพฯ, อยุธยา, จันทบุรี, พิษณุโลก, ราชบุรี, ปราจีนบุรี พ.ศ.2473 ศูนย์กลางอยู่ประมาณเมืองพะโค, พม่า

ข้อมูลจากเครื่องวัดแผ่นดินไหว แหล่งที่มาของข้อมูล กรมอุตุนิยมวิทยา

ฉางเฮง(Zhang Heng)ค.ศ.136 นักแผ่นดินไหววิทยาของจีน ผู้คิดค้นเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวเครื่องแรกของโลก

เครื่องบันทึกคลื่นแผ่นดินไหวอย่างง่าย

สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ปรับปรุงจาก สุมาลี ประจวบ และคณะ, 2546)

ขนาดแผ่นดินไหว 0-4 ริคเตอร์ ขนาดแผ่นดินไหว 0-4 ริคเตอร์

ขนาดแผ่นดินไหว 4-9 ริคเตอร์ ขนาดแผ่นดินไหว 4-9 ริคเตอร์

ข้อมูลแผ่นดินไหว 26 ธันวาคม 2547-24 กรกฎาคม 2548 ขนาด 6-9 ริคเตอร์

ตำแหน่งเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำสะโตง ตอนกลางของประเทศพม่า บริเวณรอยต่อระหว่างประเทศพม่า-ลาว-จีน และไทย ทะเลอันดามัน หมู่เกาะอันดามัน-นิโคบาร์ พื้นที่ครอบคลุมภาคทะเลอันดามัน เกาะสุมาตรา แผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

THANK YOU