แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
Advertisements

บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
คำกล่าวถึงความรัก.
เรื่อง น่าคิด.
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
พื้นที่ผิวและปริมาตร
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
รายงาน เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เรื่อง เข็มทิศ จัดทำโดย
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
การประดิษฐ์แผนที่ดาววงกลม
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
Points, Lines and Planes
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ตรีโกณมิติ.
คำวิเศษณ์.
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
ตำแหน่งของลำตัวและศรีษะ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
การติดตั้งและติดตาม การปฏิบัติงานปี 2555 การติดตั้งและติดตาม การปฏิบัติงานปี 2555.
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
เทห์วัตถุในระบบสุริยะ
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
งานนำเสนอ เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์.
ปรากฏการณ์ข้างขึ้น-ข้างแรม (Lunar's Phases)
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ยูเรนัส (Uranus).
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
ดวงจันทร์ (Moon).
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
Spherical Trigonometry
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง) แผ่นขอบฟ้า (แผ่นบน)

แผนที่ดาววงกลม เมื่อประกอบเสร็จแล้ว

วิธีใช้งาน: ตั้งเวลาโดยหมุน “นาฬิกา” (ที่ขอบแผ่นขอบฟ้า) ให้ตรงกับ “ปฏิทิน” (ที่ขอบแผ่นแผนที่) จับแผนที่ดาวแหงนขึ้น โดยให้ทิศเหนือและทิศใต้บนแผนที่ดาว ชี้ตรงกับทิศเหนือและทิศใต้ของภูมิประเทศจริง ควรระลึกไว้เสมอว่า การอ่านแผนที่ดาวมิใช่การก้มอ่านหนังสือ แต่เป็นการแหงนดู เพื่อเปรียบเทียบท้องฟ้าในแผนที่กับท้องฟ้าจริง จะสังเกตเห็นว่า ไม่ว่าจะหมุนแผ่นขอบฟ้าไปอย่างไรก็ตาม เส้นศูนย์สูตรฟ้าจะอยู่ตรงแนวทิศตะวันออก (E) และตะวันตก (W) เสมอ เพราะนั่นคือเส้นแบ่งซีกท้องฟ้า เส้นสุริยะวิถีตรงกลุ่มดาวคนคู่ จะอยู่ค่อนไปทางเหนือ และเส้นสุริยะวิถีตรงกลุ่มดาวคนยิงธนู จะอยู่ค่อนไปทางใต้ วงกลมทั้งสองเอียงตัดกันเป็นมุม 23.5 เนื่องเพราะแกนของโลกเอียงทำมุมกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์

ข้อพึงระวัง: แผนที่ดาวแบบวงกลมนี้มีข้อจำกัด เนื่องจากสร้างขึ้นโดยการตีแผ่ทรงกลมออกเป็นระนาบสองมิติ (360 projection) กลุ่มดาวในซีกฟ้าเหนือจะมีขนาดเล็กกว่าความเป็นจริง และกลุ่มดาวในซีกฟ้าใต้จะขยายถ่างเกินสัดส่วนจริง ตำแหน่งบอกทิศทั้งแปด มิได้ห่างเท่า ๆ กัน สเกลระหว่างทิศเหนือ (N) ไปยังทิศตะวันออก (E) และทิศตะวันตก (W) จะอยู่ใกล้ชิดกันมาก ส่วนสเกลไปทางทิศใต้ (S) จะมีระยะห่างออกไป กว้างกว่าหลายเท่า หากหันหน้าดูดาวทางทิศเหนือ ให้หันเอาด้านอักษร N ลง หากหันหน้าดูดาวทางทิศใต้ ให้หันกลับด้านเอาอักษร S ลง หากหันหน้าไปทางทิศอื่น ให้พยายามตรึงแนว N–S ให้ขนานกับทิศเหนือ –ใต้ ของภูมิประเทศจริง ไว้ตลอดเวลา