ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี Good Governance
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาระบบบริหารภาครัฐที่มีธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
5.
ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ โดย นางสาวยศธิดา ขันแก้ว
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การบริหารทรัพยากรบุคคล
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ และ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์

การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ คืออะไร การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ คือ การศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและสังคมมากที่สุด ซึ่งจะต้องศึกษาถึงองค์ความรู้และแนวคิดที่สร้างขึ้นเป็นรัฐประศาสนศาสตร์

กรอบการวิเคราะห์การศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ สามารถแบ่งแนวการวิเคราะห์ออกเป็น 3 แบบดังนี้

1. กรอบการวิเคราะห์แบบหลายส่วนที่เชื่อมกัน (Cross-Section Approach) เป็นการศึกษาถึงส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำองค์ความรู้เหล่านั้นมากำหนดขอบเขตและรายละเอียดของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์

2. กรอบการวิเคราะห์แบบเชิงพัฒนาการ (Historical Approach) เป็นการศึกษาพัฒนาการของบทบาทของรัฐตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันบท-บาทของรัฐมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทำให้เราสามารถทราบได้ว่าบทบาทของรัฐมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด และบทบาทแบบไหนเป็นบทบาทที่เหมาะ-สมที่สุดสำหรับภาครัฐ

3. กรอบการวิเคราะห์แบบเชิงกฎหมาย (Legal Approach) เป็นการศีกษาเรื่องของใช้อำนาจของรัฐในการบริหารงาน อำนาจที่กล่าวถึงคือ อำนาจอธิปไตย ที่มีอยู่ด้วยกัน 3 ด้าน ได้แก่ อำนาจด้านนิติบัญญัติ (Legislative) อำนาจด้านการบริหาร (Administration) อำนาจด้านตุลาการ (Judicial)

กระแสแนวคิดหลัก กระแสแนวคิดหลักนี้ผสมผสานกันขึ้นมาเป็นรัฐ-ประศาสนศาสตร์ในยุคใหม่ ซึ่งกระแสแนวคิดหลักมีทั้งหมด 4 กระแส ประกอบไปด้วย

-ประสิทธิภาพ (Efficiency) -ความคุ้มค่าของเงิน (Value for Money ) 1. แนวคิดเศรษฐศาสตร์ หรือเรียกว่า เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Neo-classic Economics) เป็นแนวความคิดของนักเศรษฐศาสตร์ ให้ความสำคัญกับระบบตลาด (Market Mechanism) ต้องการให้เอกชนเข้ามาทำงานแทนรัฐในบางเรื่อง แนวความคิดนี้จะเน้นอยู่ 2 เรื่อง คือ -ประสิทธิภาพ (Efficiency) -ความคุ้มค่าของเงิน (Value for Money )

2. แนวคิดการบริหารจัดการสมัยใหม่ (Managerialism) เป็นแนวความคิดของการบริหารสมัยใหม่ของภาคเอกชน (Business-like Approach) แนวคิดนี้เชื่อว่าวิธีการบริหารจัดการนั้นเหมือนกันทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน จึงสนับสนุนให้มีการใช้วิธีการบริหารในภาคเอกชนมาใช้ในภาครัฐมากขึ้น แนวความคิดนี้จะเน้นอยู่ 3 เรื่อง ด้วยกัน คือ -ประสิทธิผลหรือผลสัมฤทธิ์ (Effectiveness) -คุณภาพ (Quality) -ภาระรับผิดชอบ (Accountability)

ภายหลังได้มีการนำแนวคิดที่ 1 และ 2 คือ แนวคิดเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิคและแนวคิดการบริหารจัดการสมัยใหม่ มารวมกันทำให้เกิดแนวคิดใหม่ขึ้นมา ซึ่งมีชื่อใหม่ว่า “การจัดการภาครัฐสมัยใหม่ (New Public Management: NPM)”

3. แนวคิดประชารัฐ (Participatory State หรือ Civil Society) เป็นแนวความคิดของนักรัฐศาสตร์ยุคใหม่เกิดขึ้นในช่วงหลังแนวคิด New Public Management (NPM) แนวคิดนี้ต้องการเห็นการมีส่วนทางตรงของประชาชนเพิ่มมากขึ้น แนวความคิดนี้เน้นถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนมากที่สุด

4. แนวคิดกฎหมายมหาชน (Public Law) แนวความคิดนี้ได้รับอิทธิพลมาจากนักกฎหมายมหาชน คือไม่อยากเห็นรัฐบาลใช้อำนาจตามอำเภอใจหรือเกินขอบเขตหน้าที่ของตน แนวความคิดนี้เน้นอยู่ 2 เรื่อง คือ -ความยุติธรรม -ความไม่ลำเอียงเลือกปฏิบัติ

เครื่องมือของแต่ละแนวคิด

1. เครื่องมือของแนวคิดเศรษฐศาสตร์ หรือเรียกว่า เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Neo-classic Economics) ได้แก่ -ลดอัตรากำลังคนลง (Reduction in Force) -ปรับลดงบประมาณรายจ่าย (Cutback) -การแปรสภาพกิจการบางอย่างของภาครัฐให้เป็นรัฐวิสาหกิจหรือเป็นเอกชนมากขึ้น (Privatization หรือ Corporatization) -การเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาเสนอที่จะทำในสิ่งที่ภาครัฐต้องการจะทำ (Market Testing หรือ Contestability)

2. เครื่องมือของแนวคิด Managerialism (แนวการจัดการสมัยใหม่) 2. เครื่องมือของแนวคิด Managerialism (แนวการจัดการสมัยใหม่) แนวคิดนี้มีคำขวัญที่ว่า “Let the manager manage” คือ ให้ผู้บริหารงานหน่วยงานต่างๆมีอำนาจในการบริหารงานเอง จึงได้มีการกำหนดเครื่องมือ ดังนี้ -การลดการควบคุมของหน่วยงานกลาง (Devolution of the Centralized Control) -การยกเลิกกฎระเบียบหรือกติกาที่ให้ส่วนราชการปฏิบัติตามบางส่วน(Deregulation) เพื่อสามารถที่จะบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ -การปรับลดขนาดของระบบราชการลง (Downsizing)

3. เครื่องมือของแนวคิดประชารัฐ (Participatory State) หรือ Civil Society ได้แก่ -การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (Public Hearing) -พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ พศ.2540 -ความโปร่งใส (Transparency) -การกระจายอำนาจ (Decentralization) 4. เครื่องมือของแนวความคิดนักกฎหมายมหาชน (Public Law) ได้แก่ -หลักนิติรัฐ (Rule of Law) เป็นการสร้างกฎหมายเพื่อต่อสู้กับชนชั้นปกครอง

ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสน-ศาสตร์ กรอบการวิเคราะห์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสน-ศาสตร์ กระแสแนวคิดหลัก 4 กระแส เครื่องมือของกระแสแนวคิดหลัก

ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ จัดทำโดย น.ส. ศรัญญา เจียงทิพากร ID : 4741643024 คณะรัฐศาสตร์ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์