ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ โดย นางสาวยศธิดา ขันแก้ว ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ โดย นางสาวยศธิดา ขันแก้ว
รัฐประศาสนศาสตร์ คืออะไร รัฐประศาสนศาสตร์ คืออะไร
ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ Public Administration สื่อถึงความเป็น สาธารณะ คือเพื่อส่วนรวม เรื่องของการบริหารงานภาครัฐ
ขอบข่ายของรัฐประศาสนศาสตร์ในทางทฤษฎี 1. แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์สำนักนีโอคลาสสิค 2. แนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม่ 3. แนวคิดประชารัฐ 4. แนวคิดกฎหมายมหาชน
ขอบข่ายของรัฐประศาสนศาสตร์ในปฏิบัติ แผนยุทธศาสตร์ของการปฏิรูประบบราชการ ( พ.ศ. 2546- พ.ศ. 2550 ) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
รัฐประศาสนศาสตร์กับทิศทางการบริหารราชการไทย ถือเป็นกลไกสำคัญที่จะขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเจริญ สร้างสรรค์ความก้าวหน้าให้แก่บ้านเมือง เป็นกลไกในการนำนโยบายที่กำหนดโดยระบบการเมืองไปสู่การปฏิบัติ
แนวทางของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน แก้ไขเปลี่ยนแปลงความไม่เป็นธรรม สนใจต่อผลของการดำเนินงานตามโครงการของรัฐ สนใจอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การ สนใจวิถีทางที่ประชาชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานของรัฐ สนใจในเรื่องการกระจายอำนาจ พยายามค้นหาวิธีจะตอบสนองความต้องการของประชาชน
คุณลักษณะของนักรัฐประศาสนศาสตร์ 1) ความซื่อสัตย์ สุจริต และการมีจริยธรรม 2) ความเสียสละ 3) การคำนึงถึงประโยชน์ของสาธารณะ 4) ความรอบรู้ของงาน 5) การทำงานร่วมกับผู้อื่น