ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Advertisements

ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี Good Governance
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
การพัฒนาระบบบริหารภาครัฐที่มีธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
5.
ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ โดย นางสาวยศธิดา ขันแก้ว
อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
( Organization Behaviors )
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การจูงใจ (Motivation)
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น
Good Corporate Governance
นิติปรัชญา อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๗
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การวัดผล (Measurement)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การเขียนโครงการ.
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
Dr.Pokkrong Manirojana
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์

รัฐประศาสนศาสตร์ หรือ Public Administration ศึกษาเกี่ยวกับ กิจการสาธารณะ ( Public Affairs ) หลักการ ความรับผิดชอบและพร้อมที่จะให้ตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึง ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest )

องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ - การบริหารงานภาครัฐเน้นผลประโยชน์สาธารณะมากกว่าบุคคล การบริหารงานภาคเอกชน - การบริหารงานภาคเอกชนอยู่ที่ผลประโยชน์ส่วนบุคคล ปรับใช้ การบริหารงานภาคเอกชน การบริหารงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร พัฒนบริหารศาสตร์

พัฒนบริหารศาสตร์ ( Development Administration ) นักวิชาการต่าง ได้ยอมรับกันว่า หลักการหรือทฤษฎีที่ได้มาจากการศึกษาของสังคมหนึ่ง อาจไม่สามารถนำมาใช้หรืออธิบายกับอีกสังคมหนึ่ง พยายามสร้างขึ้นเพื่อให้เหมาะสมกับประเทศกำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา

พรมแดนแห่งความรู้ (Boundary) สาขาวิชา (Content) ระเบียบวิธี (Methodology) ปรากฏการณ์จริงในภาคปฏิบัติ (Practice)

ลักษณะวิธีวิเคราะห์ กรอบวิเคราะห์หลายส่วนที่เชื่อมกัน ( Cross-Sectional Approach ) “สภาพเหนือรัฐ” มีอิทธิพลต่อ “การบริหารงานภายในรัฐ”อย่างไร กรอบวิเคราะห์เชิงพัฒนาการ (History Approach) การศึกษาการกำเนิดรัฐ การศึกษาหน้าที่ของรัฐ การศึกษาบทบาทของรัฐ กรอบวิธีวิเคราะห์เชิงกฎหมาย (Legal Approach) ที่มาของอำนาจ (อำนาจนิติบัญญัติ) การใช้อำนาจ(อำนาจบริหาร) การตรวจสอบและแก้ไข(อำนาจตุลาการ)

ลักษณะการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีแนวทางดังนี้ ช่วงแรก ให้ความสนใจเกี่ยวกับรูปแบบวิธีการศึกษาไม่มากนัก ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นเนื้อหาสาระมากกว่า ต่อมา ได้มีการพัฒนามาเป็นสาขาวิชาที่มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาที่เน้นเฉพาะของตนมากขึ้น

แนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์ เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ ไม่ให้ความสนใจในเรื่องความบริสุทธิ์ของศาสตร์ สหสาขาวิชา (Inter – Disciplinary Approach) - รัฐศาสตร์ - เศษฐศาสตร์ - สังคมวิทยา - กฎหมาย - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ สังคมศาสตร์สาขาต่างๆ การกำหนดนโยบายสาธารณะ

เนื้อหาขององค์ความรู้

Government Governance รัฐประศาสนศาสตร์ในยุคใหม่ แนวคิดหลัก 4 กระแส เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Marketization) New Public Management : NPM การบริหารจัดการสมัยใหม่ (Business-like Approach) Governance Good Govemance รัฐศาสตร์ในยุคใหม่ (Participatory State) กฎหมายมหาชน (Public Law)

เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Marketization) ความคุ้มค่าของเงินเป็นหลัก Value for Money ประสิทธิภาพ Efficiency Privatization & Corporatization Cutback Management เครื่องมือ Reduction in force Market Testing

การบริหารจัดการสมัยใหม่ (Business-like Approach) ผลสัมฤทธิ์ Effectiveness คุณภาพ Quality ความรับผิดชอบ Accountability เครื่องมือ Devolution of the Centralized Downsizing

(Participatory State) การมีส่วนร่วม Participation ความโปร่งใส Transparency รัฐศาสตร์ในยุคใหม่ (Participatory State) การตอบสนอง Responsiveness การกระจายอำนาจ Decentralization

กฎหมายมหาชน (Public Law) หลักนิติรัฐ - นิติธรรม Rule of law ความยุติธรรมไม่ลำเอียง Fairness or Impartiality

จบ...แล้วจ้า By น.ส. เยาวธิดา แก้วมุงคุณ 4741636724