ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ หรือ Public Administration ศึกษาเกี่ยวกับ กิจการสาธารณะ ( Public Affairs ) หลักการ ความรับผิดชอบและพร้อมที่จะให้ตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึง ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest )
องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ - การบริหารงานภาครัฐเน้นผลประโยชน์สาธารณะมากกว่าบุคคล การบริหารงานภาคเอกชน - การบริหารงานภาคเอกชนอยู่ที่ผลประโยชน์ส่วนบุคคล ปรับใช้ การบริหารงานภาคเอกชน การบริหารงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร พัฒนบริหารศาสตร์
พัฒนบริหารศาสตร์ ( Development Administration ) นักวิชาการต่าง ได้ยอมรับกันว่า หลักการหรือทฤษฎีที่ได้มาจากการศึกษาของสังคมหนึ่ง อาจไม่สามารถนำมาใช้หรืออธิบายกับอีกสังคมหนึ่ง พยายามสร้างขึ้นเพื่อให้เหมาะสมกับประเทศกำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา
พรมแดนแห่งความรู้ (Boundary) สาขาวิชา (Content) ระเบียบวิธี (Methodology) ปรากฏการณ์จริงในภาคปฏิบัติ (Practice)
ลักษณะวิธีวิเคราะห์ กรอบวิเคราะห์หลายส่วนที่เชื่อมกัน ( Cross-Sectional Approach ) “สภาพเหนือรัฐ” มีอิทธิพลต่อ “การบริหารงานภายในรัฐ”อย่างไร กรอบวิเคราะห์เชิงพัฒนาการ (History Approach) การศึกษาการกำเนิดรัฐ การศึกษาหน้าที่ของรัฐ การศึกษาบทบาทของรัฐ กรอบวิธีวิเคราะห์เชิงกฎหมาย (Legal Approach) ที่มาของอำนาจ (อำนาจนิติบัญญัติ) การใช้อำนาจ(อำนาจบริหาร) การตรวจสอบและแก้ไข(อำนาจตุลาการ)
ลักษณะการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีแนวทางดังนี้ ช่วงแรก ให้ความสนใจเกี่ยวกับรูปแบบวิธีการศึกษาไม่มากนัก ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นเนื้อหาสาระมากกว่า ต่อมา ได้มีการพัฒนามาเป็นสาขาวิชาที่มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาที่เน้นเฉพาะของตนมากขึ้น
แนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์ เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ ไม่ให้ความสนใจในเรื่องความบริสุทธิ์ของศาสตร์ สหสาขาวิชา (Inter – Disciplinary Approach) - รัฐศาสตร์ - เศษฐศาสตร์ - สังคมวิทยา - กฎหมาย - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ สังคมศาสตร์สาขาต่างๆ การกำหนดนโยบายสาธารณะ
เนื้อหาขององค์ความรู้
Government Governance รัฐประศาสนศาสตร์ในยุคใหม่ แนวคิดหลัก 4 กระแส เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Marketization) New Public Management : NPM การบริหารจัดการสมัยใหม่ (Business-like Approach) Governance Good Govemance รัฐศาสตร์ในยุคใหม่ (Participatory State) กฎหมายมหาชน (Public Law)
เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Marketization) ความคุ้มค่าของเงินเป็นหลัก Value for Money ประสิทธิภาพ Efficiency Privatization & Corporatization Cutback Management เครื่องมือ Reduction in force Market Testing
การบริหารจัดการสมัยใหม่ (Business-like Approach) ผลสัมฤทธิ์ Effectiveness คุณภาพ Quality ความรับผิดชอบ Accountability เครื่องมือ Devolution of the Centralized Downsizing
(Participatory State) การมีส่วนร่วม Participation ความโปร่งใส Transparency รัฐศาสตร์ในยุคใหม่ (Participatory State) การตอบสนอง Responsiveness การกระจายอำนาจ Decentralization
กฎหมายมหาชน (Public Law) หลักนิติรัฐ - นิติธรรม Rule of law ความยุติธรรมไม่ลำเอียง Fairness or Impartiality
จบ...แล้วจ้า By น.ส. เยาวธิดา แก้วมุงคุณ 4741636724