การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
Advertisements

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
5.2 การวัดตำแหน่งของข้อมูล
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
Menu Analyze > Correlate
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
(Descriptive Statistics)
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การ Recode ข้อคำถามที่เป็นเชิงลบ
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นสถิติเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่างประชากร แล้วนำเสนอข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นการหาค่าเฉลี่ย เพื่อต้องการทราบว่าข้อมูลที่เก็บรวบรวมมามีค่าใดที่เป็นค่ากลาง การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ 1. ข้อมูลระดับนามมาตรา (Nominal scale) ใช้ฐานนิยม (Mode) 2. ข้อมูลระดับมาตรา (Ordinal scale) ใช้มัธยฐาน (Median) 3. ข้อมูลระดับช่วงมาตรา (Interval scale) และอัตราส่วน(Ratio scale) ใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) สัญญลักษณ์ x

มัธยฐาน ( Median แทนด้วยสัญญลักษณ์ Mdn) คือ ค่าที่อยู่ตรงตำแหน่งกลางในการแจกแจงข้อมูล เมื่อข้อมูลนั้น ๆ มีการเรียงลำดับ (จากมากไปหาน้อย หรือ จากน้อยไปหามาก) เช่น ค่าคะแนนของนิสิต 1 4 2 6 8 5 9 10 7 - 1 2 4 5 6 7 8 9 10 ตำแหน่งของข้อมูลตรงกลาง n+1 = 9+1= 5 , Mdn = 6 2 2 แต่ถ้าจำนวนข้อมูลเป็นคู่ จะได้ค่า Mdn 2 ตัว ให้นำ Mdn 2 ตัวมาบวกกันแล้วหารสอง 1 5 4 3 8 9 10 6 4 10 - 1 3 4 4 5 6 8 9 10 10 ตำแหน่งข้อมูลตรงกลาง = 10+1 = 5.5 , Mdn = 5+6 = 5.5 2 2

ฐานนิยม (Mode แทนด้วยสัญญลักษณ์ Mo ) คือ ค่าของข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุดของข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ เช่น ค่าคะแนนของนิสิต 10 10 15 15 15 17 18 18 19 ฐานนิยม คือ 15 ข้อมูลระดับช่วงมาตรา (Interval scale) และ อัตราส่วนมาตรา (Ratio Scale) ใช้ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic mean) หรือ ค่าเฉลี่ย (Mean) สัญญลักษณ์x ค่าเฉลี่ย = ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แล้วหารด้วยจำนวนข้อมูล

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางสำหรับข้อมูลที่อยู่ใน ตารางแจกแจงความถี่ (Grouped data) ข้อมูลระดับนามมาตรา (Nominal scale) ใช้ฐานนิยม (Mode,Mo)

2. ข้อมูลระดับมาตรา (Ordinal scale) ใช้มัธยฐาน (Median,Mdn) 3. ข้อมูลระดับช่วงมาตรา (Interval scale) / อัตราส่วนมาตรา (Ratio scale) ใช้ค่าเฉลี่ย(Mean,X)

การพรรณนาข้อมูลโดยการวัดการกระจาย (Measure of Variability or Dispersion) 1.การวัดการกระจายสำหรับข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ ข้อมูลระดับนามมาตรา (Nominal scale) ใช้เปอร์เซ็นต์ ข้อมูลระดับ (Ordinal scale) ใช้ค่าพิสัย หรือ ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Interquartile)

ข้อมูลระดับช่วงมาตรา (Interval scale) อัตราส่วนมาตรา (Ratio scale) -ใช้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation S, S.D.) -ค่าความแปรปรวน (variance หรือ S) -ค่าสัมประสิทธิ์แห่งความแปรผัน (coefficient of variation หรือ C.V)

ค่าพิสัย (Range) พิสัย เป็นค่าความแตกต่างระหว่างค่าสูงสุด กับค่าต่ำสุดของข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ สูตร พิสัย = ค่าข้อมูลสูงสุด- ค่าข้อมูลต่ำสุด ใช้กับข้อมูลระดับช่วงมาตรา (Interval scale) ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถเปรียบเทียบการกระจาย ของตัวแปรที่แตกต่างกัน

ค่าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (Interquartile , Q) คือ ค่าที่แสดงให้เห็นว่าข้อมูล 50% ตรงกลางของข้อมูลทั้งหมด แตกต่างกันเท่าไร ค่า Interquartile หาได้จากค่า Q3 ลบด้วย Q1 แล้วหารด้วย 2 Q1 คือ ค่าของข้อมูลที่แสดงให้ทราบว่ามี 25%หรือ1/4ของข้อมูลที่มีค่าต่ำกว่าหรือเท่ากับค่านี้ Q2 คือ ค่าของข้อมูลที่แสดงให้ทราบว่ามี50%หรือ 1/2ของข้อมูลที่มีค่าต่ำกว่าหรือเท่ากับ ค่านี้ หรือ ค่ามัธยฐาน Q3 คือ ค่าของข้อมูลที่แสดงให้ทราบว่ามี75% หรือ3/4ของข้อมูลที่ต่ำกว่าหรือเท่ากับค่านี้ Q4 คือ ค่าข้อมูลสูงสุดของการกระจาย เป็นค่าของข้อมูลที่แสดงให้ทราบว่ามี 100%ของข้อมูล ที่มีค่าต่ำกว่าหรือเท่ากับค่านี้

ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ ค่ารากที่สองของผลรวมของความแตกต่างระหว่าง ข้อมูลดิบกับค่าเฉลี่ยยกกำลังสอง(sum of squares ของผลต่าง) หารด้วยจำนวนทั้งหมด ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลประชากร ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง

ค่าความแปรปรวน (variance) คือ ค่าผลรวมของผลต่างระหว่าง คะแนนดิบกับค่าเฉลี่ยยกกำลังสอง (sum of squaresของผลต่าง) แล้วหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด ค่าสัมประสิทธิ์แห่งความแปรผัน (Coefficient of Variation, C.V.) การเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไป ที่มีหน่วยการวัดหรือ มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกัน

ค่ามากแสดงว่าข้อมูลมีการกระจายมาก ค่าน้อยแสดงว่าข้อมูลมีการกระจายน้อย

การวัดการกระจายสำหรับข้อมูลที่อยู่ในรูปตารางแจกแจงความถี่ ข้อมูลระดับนามมาตรา (nominal scale) ใช้ดัชนีของความกระจาย (Index of dispersion,D) ข้อมูลระดับมาตรา (ordinal scale) ใช้พิสัย(range) หรือ ค่าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์(Interquartile) ข้อมูลระดับช่วงมาตรา (interval scale)/ อัตราส่วนมาตรา(ratio scale) ใช้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation, s) ความแปรปรวน(variance, s) สัมประสิทธิ์แห่งความแปรผัน (coefficient of variation, C.V.)