เด็กชาย บัณฑิต ทัพธานี ม.3/2 เลขที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ณ ทางใต้ของเมืองพาราณสี มีหมู่บ้านพราน (คนล่าสัตว์ในป่า)
การใช้เทคโนโลยีสื่อผสม การเรียนการสอน
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลหรือหลักธรรมที่เป็นเครื่องประสานสร้างสรรค์สามัคคีให้เกิดในหมู่สมาชิกชาวพุทธ.
บุญ.
ศาสนาเชน นักอหิงสาต่อความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
คุณธรรมและจริยธรรมของครู
สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน บ้านโนนชัย ถนนราษฎร์คนึง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
คนเราเกิดมา หลายภพชาติ ต่างมีเจ้ากรรมนายเวรต่างกัน
ทำวัตรเย็น.
ทำวัตรเช้า.
ผู้บริหารพบนักเรียน.
เกราะ ๕ ชั้น และ คุณธรรม ๔ ประการ
จัดทำโดย กลุ่มรักษ์ธรรม
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
วันอาสาฬหบูชา.
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
การบริหารจิต.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
อิมินา สักกาเรนะ ตังพุทธัง อะภิปุชะยามิ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
มารยาทในการไหว้ ด.ช.คณิตติณ พ่วงแสง ม.2/6 เลขที่ 2.
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
ครูธีระพล เข่งวา 1 สอนโดย … ครูธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
                                                                                       
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เรื่อง มงคล ๓๘ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวังไกลกังวล
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑
นางสาวพรพรรณ แก้วเรือง เลขที่ 24 นางสาวศุทธินี ใยบัว เลขที่ 33
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
ขอเชิญสวดมนต์ถวายพระพร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เด็กชาย บัณฑิต ทัพธานี ม.3/2 เลขที่ 2 ศีล 5 จัดทำโดย เด็กชาย บัณฑิต ทัพธานี ม.3/2 เลขที่ 2 ครูที่ปรึกษา ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ

ศีล 5       คำสมาทาน ว่า ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจาก การฆ่าสัตว์ด้วยตนเองและไม่ใช่ให้ผู้อื่นฆ่า) อทินนาทานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจาก การลัก ,ฉ้อ ของผู้อื่นด้วยตนเอง และไม่ใช่ให้ผู้อื่นลัก ฉ้อ) กาเมสุมิจฺฉานารา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้น จากการประพฤติผิดในกาม) มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการ พูดเท็จ คำไม่เป็นจริง และคำล่อลวง อำพรางผู้อื่น) สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการดื่มสุรา เมรัย เครื่องดองของทำใจให้คลั่งไคล้ต่าง ๆ )

คำนมัสการพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา พุทธังภะคะวันตัง อภิวาเทมิ(กราบ) สะวาขาโต ภะคะวะตาธัมโม ธัมมังนะมัสสามิ(กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ(กราบ) คำอาราธนาศีล 5 มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิยาจามะ ทุติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิยาจามะ ตะติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิยาจามะ

คำขอขมาพระรัตนตรัย สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกิน ต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ด้วยเจตนาก็ดี ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี ขอองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดงดเว้นโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ

การรักษาศีล5 การรักษาศีล 5 ศีล ( Morality ) คือ ความปกติ และการรักษาศีลก็คือ ความตั้งใจรักษา ปกติของตน อันเป็นหลักปฏิบัติที่ไม่ทำให้เดือดร้อน แก่ตนเองและผู้อื่น และเป็นหลักแห่งความประพฤติที่จะทำให้เกิดความสะอาด ทางกาย และวาจา ศีลมีหลายประเภท เช่น ศีล 5, ศีล 8, ศีล 10 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ความสามารถของผู้ปฏิบัติ แต่ศีลที่ควรกระทำเพื่อให้เกิดความปกติในสังคมก็ คือ ศีล 5 เพราะสะดวก และง่ายที่จะปฏิบัติ มีดังนี้ คือ

เบญจศีล แปลว่า ศีล ๕ ได้แก่. ๑ เบญจศีล แปลว่า ศีล ๕ ได้แก่.. ๑.ปาณาติปาตา เวรมณี เจตนาเป็นเครืองงดเว้นจากการฆ่า การเบียดเบียน การทำร้ายร่างกายคนและสัตว์ แล้วมีจิตใจประกอบด้วยเมตตากรุณา มีความปรารถนาดี และสงสารเห็นอกเห็นใจผู้อื่นสัตว์อื่น ๒.อทินนาทานา เวรมณี เจตนาเป็นเครืองงดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมยหรือโจร อันได้แก่ ลัก ฉก ชิง วิ่งราว ขู่กรรโชก ขู่เข็ญ ปล้น จี้ ตู่ ฉ้อโกง หลอก ลวง ปลอม ตระบัด เบียดบัง สับเปลี่ยน ลักลอบ ยักยอก และรับสินบน แล้วเป็นผู้มีความขยันประกอบสัมมาชีพ บริจาคทาน และเคารพในกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของผู้อื่น

๓.กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม บุคคลต้องห้ามสำหรับฝ่ายชาย คือ (๑) ภรรยาคนอื่น (๒) ผู้หญิงที่ยังอยู่ในความอุปการะของผู้อื่น (ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่นอยู่) (๓) ผู้หญิงที่จารีตต้องห้าม (แม่ ย่า ยาย พี่สาว น้องสาว ลูกสาว ชี หญิงผู้เยาว์ บุคคลที่ต้องห้ามสำหรับฝ่ายหญิง คือ (๑) สามีคนอื่น (๒) ชายจารีตต้องห้าม (พ่อ ปู่ ตา พี่ชาย น้องชาย ลูกชาย พระภิกษุ สามเณร ชายผู้เยาว์) ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิงไม่ใช่เฉพาะ ห้ามแต่ร่วมสังวาสเท่านั้น แม้แต่การเคล้าคลึง การพูดเกี้ยวพาราสี หรือการแสดงอาการ ปฏิพัทธ์แม้แต่ด้วยสายตาเนตรสบเนตร เป็นต้น ก็ชื่อว่า การละเมิดศีลข้อนี้แล้ว เมื่อไม่ล่วงละเมิดศีลข้อนี้แล้วเป็นผู้สำสวมในกามยินดีแต่ในภรรยาของตนเท่านั้น (สทารสันโดษ) จงรักภักดีแต่ในสามีของตน (ปติวัตร) ถ้ายังไม่ได้แต่งงานก็ต้องมีกามสังวร ตั้งตนอยู่ในขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม มีวัฒนธรรมอันดีชนิดที่ว่า "เข้าตามตรอกออกตามประตู"

คำคม ....ความขยัน เป็นทางไปสู่ความสำเร็จ...การระมัดระวัง เป็นเกราะป้องกันตัว

ที่มา http://www.larnbuddhism.com/grammathan/siil5.ht ml และ thttp://www.sil5.net/index.asp?autherid=14&ContentI D=10000024&title=%A1%D2%C3%C3%D1%A1%C9%D 2%C8%D5%C5+5&bttcol=False