หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศิลปหัตกรรมนักเรียน ปี2552 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครปฐมเขต 2
Advertisements

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
13 คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับเขื่อน 1. ทำไมจึงมีการต่อต้านเขื่อนขนาดใหญ่อย่าง กว้างขวาง? ตอบ เขื่อนขนาดใหญ่เป็น ชนวนของความขัดแย้ง ทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ.
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
พระวาจา ทรง ชีวิต เมษายน 2014.
พระวาจาทรงชีวิต กรกฎาคม 2012.
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียง.
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
อิทธิบาท 4 เพื่อพัฒนาอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่น
ภูมิปัญญาไทย.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
The Nature of technology
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
บทที่ 16 การใช้ข้อมูล ข่าวสาร ของ ผู้บริหาร จากงานเขียนตั้งแต่ข้อ 1-15 ผู้อ่าน คงจะได้ตระหนักถึงคุณค่าของ ข่าวสาร ก็น่าเชื่อได้ว่าหรือตั้ง สมมุติฐานได้ว่า.
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
**สูตรนำไปสู่ความสำเร็จ**
ใจที่ไม่เปิดเผื่อรับฟัง มองไม่เห็นซึ่งหนทางการพัฒนา                                                                                                                                                                   
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
พระวาจา ทรง ชีวิต พฤษภาคม 2010.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
พระวาจา ทรง ชีวิต มิถุนายน 2013.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
นิเทศศาสตร์กับการเมือง และข้อเสนอสำหรับการวิจัยทางนิเทศศาสตร์
ครูธีระพล เข่งวา นักประวัติศาสตร์ หมายถึง ข้อใด ก. ผู้ที่สามารถเรียน ประวัติศาสตร์ได้ดี ข. อาจารย์ผู้สอน ประวัติศาสตร์ได้ดี ค. ผู้ที่มีประสบการณ์ทาง.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
All time in my love น. ส. ชุติมันต์ มีนา เลขที่ 10 น. ส. ถาวรีย์ นุธรรม เลขที่ 11 น. ส. ศิรินยา จันแปงเงิน เลขที่ 12 ม
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แล้วคุณเป็นใคร ?.
การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7 ด.ช. เสกสรร ยอดเพชร

บทคัดย่อ การบริหารด้วยสัปปุริสธรรม 7 หรือหลักคนดีที่ถูกต้อง ประกอบด้วย  ความเป็นคนรู้จักเหตุ (เห็นเหตุแล้วคาดการณ์ถึงผลในอนาคต)   รู้จักผล (เห็นผลตอนนี้แล้วหยั่งรู้ถึงสาเหตุได้ในอดีต) รู้จักตน (รู้จักตนเอง สมรรถนะความรู้ความสามารถของตน)  รู้จักประมาณ (รู้จักความพอเพียงพอดีของตนเองและสิ่งต่างๆ)  รู้จักกาล (รู้จักเวลาว่าควรทำอย่างไร จึงจะเหมาะสมและมีประสิทธิผล)  รู้จักชุมชน (รู้จักการประพฤติตนเอง เมื่ออยู่ในสังคมต่างๆ ในเรื่องของการคิด การพูด และการทำ)  และรู้จักบุคคล (รู้วิธีการเลือกคบแต่คนดี หรือกัลยาณมิตร และหลีกเลี่ยงการคบคนพาล ตลอดจนการรู้จักการมอบหมายงานแก่บุคคลที่เหมาะสม)

หลักความปลอดภัย ทฤษฎีคู่โดยชาวกรีกโบราณ เช่น รัก – เกลียด ดี – เลว ทฤษฎีนี้สร้างทัศนคติการแบ่งแยก จะเกิดทฤษฎีใหม่ คือ หนึ่งเดียว เช่น มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของโลก ถ้าทำลายสิ่งแวดล้อม มนุษย์ก็อยู่ไม่ได้ (คล้ายทฤษฎีองค์รวม) นายเดวิด โบห์ม ระบุว่า การทดลองทางวิทยาศาสตร์ ที่เคยใช้ไม่ได้ในปีก่อน 2000 ก็จะกลายเป็นความจริงขึ้นมา (ใช้ได้) ในช่วงยุคใหม่นี้ มนุษย์จะเข้ากับธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง การติดต่อทางโทรจิตจะเป็นไปได้สำหรับคนบางกลุ่ม และอาจเป็นไปได้ที่จะระลึกชาติถึงชีวิตชาติอื่นๆ ได้ คอมพิวเตอร์ จะใช้ระบบผลึกเหลว สามารถติดต่อกันได้ทั่วโลกด้วยตัวของมันเอง คล้ายกับสิ่งมีชีวิตมากกว่าจะเป็นเครื่องจักรกล การติดต่อทางโทรศัพท์ วิทยุ ดาวเทียม อาจจะไม่จำเป็นอีกต่อไปแล้ว วิทยาศาสตร์ และศาสนาที่ถูกจัดแบ่งให้เป็นฝ่ายตรงข้ามกันตลอดมา จะเกิดการนำทัศนคติแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ทางซีกโลกตะวันตก ผนวกกับศาสนาทางซีกโลกตะวันออกมารวมกันเป็นหนึ่งเดียว บรรดาศาสดาและอาจารย์ต่างๆ ทางโลกซีกตะวันออกจะเป็นผู้นำการรู้แจ้งแห่งจิตใจด้วยสมาธิ ผู้นำรัฐบาลเป็นผู้รับใช้สังคมแทนที่จะเป็นเจ้านาย ทำให้โลกเกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง จะมีการปกครองด้วยระบบรัฐบาลแห่งโลก จะทำให้สงครามมีแต่ในประวัติศาสตร์ และผู้นำบ้าอำนาจ

เนื้อหา ปี ค.ศ.2000 นี้ มีเรื่องที่ทั่วโลกพากันหวาดวิตกในเรื่องของ Y2K ว่าจะก่อเหตุไปต่างๆ นาๆ ไม่ว่าจะเรื่องของอุบัติเหตุ การเงิน และระบบข้อมูล แต่ก็ผ่านไปด้วยดี แม้ว่าปี ค.ศ.2000 ใครๆ ก็รู้ว่าตัวเลข ค.ศ.2000 นั้น มาจากการเพิ่มขึ้นทีละปี คือ เมื่อ ค.ศ.1999 ปีถัดไปก็ ค.ศ.2000 เรียกว่ารู้ตัวล่วงหน้า แต่บริษัทที่ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมซอฟแวร์ก็ไม่ได้เตรียมให้ผู้ใช้ (ลูกค้า) ก็จะมาทำตอนใกล้ๆ ปี ค.ศ.2000 คือ ทำในปี ค.ศ.1999 ทำให้ผู้ใช้ทั่วโลกต้องเสียเงินค่าปรับปรุงนับแสนล้านบาท คนที่ได้เงินกำไรมหาศาลก็คงเป็นบริษัทโปรแกรมซอฟแวร์ คนที่เสียเงิน คือ ผู้ใช้ นับว่าผู้ใช้นับวันก็จะเป็นทาสเทคโนโลยีลงรากลึกเข้าไปเรื่อยๆ (เหมือนถูกหลอก) แต่ก็โชคดีที่ Y2K ผ่านไปด้วยดี เลยไม่รู้ว่าเป็นของจริงที่เตรียมการดีหรือลวงโลกกันแน่

คำกลอน ไม่มีอะไรในโลก จะแข็งแรงยิ่งกว่าความอ่อนโยน.

ที่ปรึกษา ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ ครู ศราวุธ ไชยเจริญ