นายเกียงไกร แปลงไทยสง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Research and Development (R&D)
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
การศึกษาทางชีววิทยา Umaporn.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
การศึกษารายกรณี.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การศึกษาชีววิทยา.
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
บทที่ 1 ทักษะกระบวนการ และโครงงานทางวิทยาศาสตร์
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
โดย อาจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การวิจัยการศึกษา.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
ขั้นตอนการประมวลผล แบบ FUZZY.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดกระทำข้อมูล.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
กระบวนการวิจัย Process of Research
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
ชีวะ ม. ปลาย.
หลักการแก้ปัญหา
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ระดับของการศึกษาตัวแปร
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
วิธีสอนแบบอุปนัย.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
การศึกษาชีววิทยา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายเกียงไกร แปลงไทยสง การศึกษาทางชีววิทยา โดย นายเกียงไกร แปลงไทยสง โรงเรียนฝางวิทยายน

การศึกษาชีววิทยา 2.1 การศึกษาชีววิทยา 2.1.1 การตั้งสมมติฐาน 2.1.2 การตรวจสอบสมมติฐาน 2.1.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลและการ วิเคราะห์ข้อมูล 2.1.4 การสรุปผลการทดลอง 2.2 กล้องจุลทรรศน์ 2.2.1 กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 2.2.2 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

ชีววิทยา  (Biology)            เป็นวิชาที่กล่าวถึงเรื่องราวต่างๆ  ของสิ่งมีชีวิต  (Living organisms)  อันเป็นวิชาแขนงหนึ่งของวิชวิทยาศาสตร์  (Science)

Biology มาจากคำภาษากรีก. - Bios (ชีวิต , สิ่งมีชีวิต) Biology  มาจากคำภาษากรีก  - Bios  (ชีวิต , สิ่งมีชีวิต)  - logos  (กล่าวถึง , ศึกษา , วิชา , ความคิด , การมีเหตุผล)

คำว่า “Biology” ใช้เป็นครั้งแรก เมื่อ ค. ศ คำว่า  “Biology”  ใช้เป็นครั้งแรก  เมื่อ  ค.ศ. 1801  โดยนักวิทยาศาสตร์ 2 ท่าน คือ  - Jean Baptiste de Lamarck นักสัตววิทยาชาวฝรั่งเศส    - Ludolf Christian Treviranus  นักพฤกษาศาสตร์ชาวเยอรมัน

อันมีขั้นตอนดังนี้ การศึกษาชีววิทยา เช่นเดียวกับ วิชาวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆ  การศึกษาเรียนรู้ทางชีววิทยาอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Method)  อันมีขั้นตอนดังนี้

Scientific Method http://cai.md.chula.ac.th/lesson/research/re12.htm

การศึกษาชีววิทยาของนักวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ได้อาศัยวิธีทางวิทยาศาสตร์(scientific method)เพื่อศึกษาค้นคว้าหามาซึ่งความรู้เป็นขั้นตอน ดังนี้ 1) การสังเกต 2) การกำหนดปัญหา 3) การตั้งสมมติฐาน 4) การตรวจสอบสมมติฐาน 5) การวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง

1) การสังเกต (Observation)

2) การกำหนดปัญหา (Problem) ปัญหาที่ดีและเหมาะสมจะต้องเป็นปัญหาที่มีความชัดเจน มีความสัมพันธ์กับข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้ มีแนวทางที่จะสามารถตรวจสอบ และ หาคำตอบได้อย่างรวดเร็ว

3) การตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis) การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเน (predict) หรือการทายคำตอบของปัญหา อย่างมีเหตุผล จึงมักเขียนในลักษณะ การแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม เช่น การติดเฮโรอีนชนิดฉีด เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรค AIDS สมมติฐาน ทำหน้าที่เสมือน เป็นทิศทาง และแนวทาง ในการวิจัย จะช่วยเสนอแนะ แนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป สมมติฐานที่ตั้งขึ้น ไม่จำเป็นต้องถูกเสมอไป แต่ถัาทดสอบแล้ว ผลสรุปว่าเป็นความจริง ก็จะได้ความรู้ใหม่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม งานบางชนิด ไม่จำเป็นต้องมีสมมติฐาน เช่น การวิจัยขั้นสำรวจ (exploratory or formulative research) เป็นต้น

4) การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing of Hypothesis) การตรวจสอบสมมติฐาน ทำได้ดังนี้ 1) การทำการศึกษาและค้นคว้า เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและสมมติฐาน จากนั้นนำข้อมูลเหล่านี้มาประกอบในการวางแผนเพื่อการตรวจสอบหรือวางแผนการทดลอง 2) ทำการทดลอง เป็นการกระทำเพื่อพิสูจน์ยืนยันว่าสมมติฐานนั้นถูกต้องหรือไม่ ผู้ทดลองจะต้องควบคมตัวแปร ซึ่งตัวแปรมี 3ประเภท คือ ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (Independent variables) คือตัวแปรที่เราต้องการจะทดลองเพื่อตรวจสอบดูผลของมัน ตัวแปรตาม (Dependent variables) เป็นตัวแปรที่จะต้องเปลี่ยนแปลงไปตามตัวแปรอิสระ ตัวแปรควบคุม (Control variables) เป็นตัวแปรที่ต้องควบคุมไม่ให้มีการเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลาของการทดลอง

5) การวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง (Analysis and Conclusion) และวิเคราะห์ออกมาในรูปแบบที่สามารถนำเสนอและเข้าใจได้ง่าย

2.2 กล้องจุลทรรศน์ 2.2.1 กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 2.2.2 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

Light microscope A 17th century compound microscope, from an engraving in Robert Hooke's Micrographia

Compound microscope made by John Cuff in 1750

Compound light microscope

The binocular light microscope http://www.mwrn.com/resources/microscope/optical.htm

Stereoscopic microscope