อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยะธรรมจีน)
อารยธรรมอินเดีย.
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ น้อยเจริญ
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยลุ่มธรรมแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยธรรมจีน)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
๓ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
การศึกษาต่อในประเทศจีน
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
สมัยโคะฟุน.
การนับถือศาสนาในราชอาณาจักรกัมพูชา
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมการเมือง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
สถานที่ท่องเที่ยวประเทศอังกฤษ
จังหวัดสุรินทร์.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
Slogan Of the province History Mood &Tone ROIET.
ประวัติ ขนาด เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
วิธีการทางประวัติศาสตร์
กรุงศรีอยุธยา.
บทที่11 สถานที่ท่องเที่ยวอันลือชื่อของไทย
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
รายวิชาประวัติศาสตร์ ส 22103
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ด. ญ. ปวันรัตน์ ตันกาศ เลขที่ 20 ม.1/2 ถัดไ ป.  จากหลักฐานรูปปั้นแมว มัมมี่แมว และ ภาพเขียนผนังเกี่ยวกับแมวแล้ว เราเชื่อว่าได้ มีการ  เลี้ยงแมวในอียิปต์
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
 1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตาม ประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของ โลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจาก อดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
  1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้  1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก  1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้า ตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใด ของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญ จากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
รูปความ เป็นมา รูปในอดีต รูปใน ปัจจุบัน. ทัชมาฮาล.. อณุสรณ์แห่งความ รัก ทัชมาฮาล ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ ประเทศอินเดียสภาพ ปัจจุบัน สมบูรณ์ดี ทัชมาฮาล อนุสาวรีย์แห่งความรัก.
ประเทศสิงคโปร์.
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ

1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรมเริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย (ปากีสถานในปัจจุบัน) ที่แม่น้าสินธุไหลผ่าน อาณาเขตลุ่มแม่น้ำสินธุครอบคลุมบริเวณกว้างกว่าลุ่มแม่น้ำไนล์แห่งอียิปส์โดยทุกๆปีกระแส น้ำได้ไหลท่วมท้นฝั่งทำให้ดินแดนลุ่มแม่น้ำสินธุอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำกสิกรรมนักประวัติศาสตร์บางคนเรียกอารยธรรมในดินแดน นี้ว่าวัฒนธรรมฮารัปปา ซึ่งเป็นเชื่อเมืองโบราณที่ตั้งอยู่บริเวณลุ่มน้ำสินธุเมื่อประมาณ ๓,๕๐๐ -๑,๐๐๐ ปีก่อนพุทธศักราช

1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ ความเจริญเกิดขึ้นเมื่อ  2,500  ปีก่อนคริสต์ศักราชหรือ  ประมาณ  4,500  ปี  มีเมืองที่เป็นศูนย์กลางความเจริญคือ  เมืองโมเฮนโจ-ดาโร  และเมืองฮารัปปา  ปัจจุบันอยู่ในปากีสถาน  มีชนชาติที่สร้างความเจริญคือ  ชาวดราวิเดียน(ทมิฬ)  ชาวอารยัน โดยความเจริญที่สำคัญมีดังนี้     -  มีการวางผังเมืองที่เป็นระบบระเบียบ บ้านเรือนแต่ละห้องมีห้องน้ำ  มีท่อระบายน้ำ  มีการสร้างบ้านสูงถึง  3  ชั้น วัสดุก่อสร้างทำจากอิฐที่มีคุณภาพดี  นับเป็นภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรมของชาวดราวิเดียน               

1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ -  การนับถือพระแม่ธรณี   เกิดระบบวรรณะในสังคม -  การเขียนคัมภีร์พระเวทหรือยุคพระเวท  ด้วยภาษาสันสกฤต -  การปกครองที่มีกษัตริย์เป็นประมุข  มีสภาช่วยในการปกครอง  ในสมัยจักรวรรดิเมารยะได้มีการเขียนตำรา การเมืองการปกครองและความมั่นคงของสังคมบ้านเมือง ชื่อ อรรถศาสตร์ ขึ้นใช้  -  การเขียนวรรณกรรมมหาภารตะและรามายนะ  (รามเกียรติ์) ด้วยภาษาสันสกฤต -  การเกิดศาสนาสำคัญคือ ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู   ซึ่งถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคพระเวทแต่เสื่อมความนิยมในสมัย พระเจ้าอโศกมหาราช  ที่ให้ความอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา  -  ด้านศิลปะมีการสร้างสถูป  เจดีย์  พระพุทธรูป  ที่มีรูปแบบเฉพาะในแต่ละแห่ง  -  ความเจริญด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นผู้ริเริ่มใช้เลขอารบิคและเลข  0 ก่อนดินแดนอื่นและมีการใช้มาจนถึงทุกวันนี้  -  การก่อสร้างทัชมาฮัล  สถาปัตยกรรมหินอ่อนที่สวยงามและมีชื่อเสียงของชาห์   เจฮัน  กษัตริย์มุสลิมที่มา ปกครองอินเดีย เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานแห่งความรักที่มีต่อพระนางมุมตัส  มาฮาน  พระมเหสี  ปัจจุบันเป็นสิ่ง มหัศจรรย์ของโลกและได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก

1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร  1.4  อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร คนในดินแดนลุ่มน้ำสินธุมีการทำอาชีพการเกษตรเป็นพื้นฐานทางเศรษฐกิจและมีการทำการค้าภายใน การเพิ่มประชากรในแต่ละอาณาจักร ทำให้การค้าในเมืองต่างๆขยายตัวขึ้นซึ่งมีสินค้าสำคัญ เช่น ดีบุก ทองแดง หินมีค่าชนิดต่างๆ นอกจากนี้ยังมีสินค้าอุตสาหกรรม เช่น การท่อผ้าฝ้าย ผ้าไหม เป็นสินค้าใน การขายในดินแดนต่างๆ อาทิ อาระเบีย เปอร์เชีย อียิปต์ เป็นต้น เมื่อชาวอารยันมีอำนาจมั่นคง จึงได้ สร้างบ้านอยู่เป็นหมู่บ้าน มีการปลูกข้าวและเลี้ยงสัตว์พันธ์ต่างๆมากขึ้น