รายงาน เรื่อง สุ่ม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดเสื้อสูทน้ำเงิน ไม่มีปก
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
ด.ญ.ไพลิน จงจำรัสพันธ์ ม.2/3
เรื่อง น่าคิด.
การทำขนมโค สมาชิกในกลุ่ม นายอุดมศักดิ์ โยมา นายราเมศ บุษบา
ทำไมจึงครอบตาม้าแข่ง
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
บัวงาม กรุณารอสักครู่
ด.ญ. มินตรา บุตระ เลขที่ 31 ม. 2/5 ด.ญ. ชลธิชา สุ่มลาย เลขที่ 36 ม.2/5
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ สร้างสรรค์งานสวย ด้วยเอกลักษณ์ไทย.
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
มาการเขียนพู่กันจีนกันเถอะ
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
การเจริญเติบโตของมนุษย์
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
การสำรวจร่องน้ำคลองบางนรา จ.นราธิวาส
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
คำวิเศษณ์.
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
การละเล่นของไทย จัดทำโดย ด.ญ.พรหมพร แสงผึ้ง ด.ญ.พัชราภา มหาวิจิตร เสนอ
กีฬาพื้นบ้านไทย จัดทำโดย เด็กชายภูมศักย์ ภูโปร่ง ม.1/2 เลขที่10
การสร้างบุคลิกภาพที่ดี
วิชาภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นำเสนอโดย กลุ่ม ๑.
มนุษย์กับวัฒนธรรม ประเพณีแข่งเรือยาว .วัดป่าโมก
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลื่อยมือ hack saw.
การแต่งกายด้วยผ้าไทย ของกรมทรัพยากรน้ำ (สบก.)
การใช้เครื่องมือจับพิกัด GPS และ การใช้แผนที่เพื่อการจัดเก็บข้อมูล โดย ดร.ณัฐ มาแจ้ง นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์
พับ...งูเล็ก.
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์จากดินไทย
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
ของที่ระลึกประเทศไทย
ไดร์เป่าผม.
การแต่งกายของประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงการอาชีพ การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
เขียดเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
Next.
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
การพันผ้า (Bandaging)
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ข้อสอบกลางภาค ประจำภาคเรียนที่
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เสนอแบบจัดนิทรรศการ / มุมผลงาน อสม. เป็นลักษณะโมบายรวมภาพกิจกรรมแต่ละเรื่อง ผลงาน นวตกรรม ด้านข้างทั้งสองข้างจัดวางโต๊ะวางนวตกรรม / ผลงาน มีป้ายแนะนำนวตก.
ตำนานรักแห่งเมืองชลบุรี
ดาวศุกร์ (Venus).
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
ASSIGNMENT ความสัมพันธ์ระหว่างเรือนเครื่องผูกกับวิถีชีวิตคนบ้านท่าโพธิ์
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
กินข้าวกล้องดีอย่างไร ? ข้าวกล้องบางคนเรียกกันติดปากว่า ข้าวซ้อมมือหรือ ข้าวแดง เนื่องจากในสมัยโบราณ ชาวบ้านใช้วิธีตำข้าวกินกันเอง จึงเรียกว่า ข้าวซ้อมมือ.
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ด. ญ. กานต์สิริทองจีน เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เสนอ อ. อรอุมาพงศ์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร ไม้ดอกชนิดพุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงาน เรื่อง สุ่ม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จัดทำโดย 1.นางสาวกนกวรรณ ธีรฐิติธรรม เลขที่ 15 2.นางสาวภัทราวริน เขียวหนู เลขที่ 25 3.นางสาวประภัสสร จันทร์ภูมิ เลขที่ 21 4.นางสาวเปรมฤดี บุญสม เลขที่ 38 5.นายสิทธิโชค วงษ์หาจักร เลขที่ 8 6.นายธีรพล เศรษฐี เลขที่ 4 7.นายชัชวาล คนคล่อง เลขที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 วิชา ประวัติศาสตร์ 4 เสนอ แม่ครูอรวรรณ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน

สุ่ม เป็นเครื่องมือสำหรับครอบปลา สานด้วยซี่ไม่ไผ่เป็นตา ๆ หรือถักหวายเถาวัลย์และลวด สามารถนับเป็นของใช้พื้นบ้านที่อยู่ทั่วทุกภาค หากแต่มีการเรียกชื่อแตกต่างกันตามท้องถิ่น เช่น สุ่มโมง เป็นสุ่มมีขนาดกว้างใหญ่กว่าสุ่มชนิดอื่น โมงมาจากภาษาถิ่น คือ โม่ง มีความหมายว่า ใหญ่โต สุ่มโมงบางพื้นที่เรียกว่า สุ่มซี่ หรือสุ่มก่องซึ่งเรียกตามลักษณะการทำงานของชาวบ้าน สุ่มโมงจะใช้ไม้ไผ่ยึดติดกันโดยมีวงหวาย ประมาณ ๕๐ - ๑๐๐ ซี่ หากสุ่มใหญ่ก็ใช้ซี่ไม้ไผ่มากขึ้น หรือวงไม้ไผ่ทำเป็นกรอบไม้ภายใน ดารถักเส้นหวายเถาวัลย์หรือลวด จะถักซี่ไม้ไผ่รัดกับวงภายในให้แน่น บางทีชาวบ้านเรียกการถักร้อยสำหรับยึดให้แน่นนี้ว่า “ ก่อง ” จึงเรียกสุ่มก่อง และลักษณะที่ก่องเป็นซี่ ๆ นี้เอง จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สุ่มซี่

สุ่มสาน เป็นสุ่มขนาดแคบกว่าสุ่มโมง เหลาซี่ไม้ไผ่จำนวนมาก สานเป็นลายขัดตาสี่เหลี่ยมห่าง ๆ แต่ไม่ให้ปลาลอดออกได้ บางทีก็เรียกว่า สุ่มขัด สุ่มชนิดนี้ไม่ต้องใช้หวายเถาวัลย์ หรือลวดถักยึดใด ๆ

สุ่มกลอง มีรูปเล็กกว่าสุ่มสานเล็กน้อย การทำสุ่มจะใช้หวายเถาวัลย์หรือลวดถักสุ่มส่วนบน ส่วนล่างใช้ซี่ไม้ไผ่สานขัดเป็นสี่เหลี่ยม

สุ่มงวม หรืออีงวม มีลักษณะพิเศษแตกต่างกัน สุ่มภาคอื่น ๆ มีขนาดใหญ่กว่าสุ่มโมงมาก สุ่มบางอันสูงเกินกว่า ๑ เมตรก็มี สุ่มงวมจะมีรูปร่างเป็นทรงกระบอก ปลายตีนสุ่มกว้างออกเล็กน้อย ด้านบนทำเป็นวงกว้างเพื่อใช้มือ ๒ ข้าง ล้วงจับปลาในสุ่มได้สะดวก การสานสุ่มงวมจะสานด้วยตอกผิวไม้ไผ่บาง ๆ สายลายขีดทึบโดยตลอด

การสุ่มปลามักสุ่มในห้วงน้ำไม่กว้างและลึกนัก สุ่มไปเรื่อยๆ เหมือนคำว่า สุ่มสี่สุ่มห้า แล้วเอามือล้วงควานภายในสุ่ม ถ้าครอบปลาได้จะควานจับใส่ข้องที่มัดสะพายติดตัวไป สมัยก่อนนั้นการสุ่มปลาใช้คนลาก “ ไม้ค้อน ” ซึ่งเป็นไม้ท่อนกลมจนน้ำ ใช้เชือกมัดท่อนไม้ ๒ ข้าง ใช้คน ๒ คน ลากในห้วงน้ำ คนถือสุ่มหลาย ๆ คนจะเดินตามไม้ค้อน ปลาเมื่อเห็นไม้ค้อนลากมาใกล้ตัวหรือถูกตัวจะกระโดดหนี บางทีมีฟองน้ำเป็นทิวๆ ไปข้างหน้า การกระโดดและว่ายหนีนี้จึงเป็นข้อสังเกตให้สุ่มปลาได้ถูกต้อง ในนิราศสุพรรณบุรีของสุนทรภู่ยังได้กล่าวถึง เรื่องสุ่มปลาไว้ว่า ศีรษะเสียงเสียงแซ่ล้วน พวกลาว แก่หนุ่มสุ่มปลาฉาว แช่น้ำ ผ้าบ่นุ่งพุงขาว ขวยจิต รอดเอย เดกด่วนชวนเพื่อนค้ำ ค่ามให้ใกล้ลาว

สุ่มนอกจากใช้ครอบปลาแล้ว ยังเป็นอุปกรณ์บีบนวดตาลสุกทำขนมตาล ใช้ครอบเด็กเกิดใหม่ไม่ให้ผีเข้า ซึ่งเป็นความเชื่อของชาวพื้นบ้านบางถิ่น และยังใช้ครอบลูกไก่ได้ด้วย

แหล่งอ้างอิง ที่มา: เว็บไซต์ล้านนาคดี http://lanna.mju.ac.th/ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ http://www.culture.go.th/knowledge/story/wickerware/wickerware.html http://www.watsamrong.com/animal.htm http://www.pongrang.com/web/data/a4/04/revival.snru.ac.th/pompanya/p-5.htm http://dungtawan.multiply.com/photos/album/241/241 http://www.oknation.net/blog/nonglek/2009/04/18/entry-1 http://www.thaimrcfisheries.org/fishing%20gear_01.html