อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช Effect of global warming on insect pests
ปรากฏการณ์โลกร้อน (Global warming) การเพิ่มของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศที่ระดับใกล้ผิวโลกและน้ำในมหาสมุทร ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา (นับถึง พ.ศ. 2548 ) อุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 0.74±0.18 องศาเซลเซียส ภาพที่มา: http://images.google.co.th/
กราฟแสดงอุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกที่เพิ่มขึ้น ในช่วงปี ค.ศ. 1860-2000 กราฟแสดงอุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกที่เพิ่มขึ้น ในช่วงปี ค.ศ. 1860-2000 ที่มา : http://th.wikipedia.org/
ปรากฏการเรือนกระจก ( greenhouse effect ) ปรากฏการที่รังสีความร้อนที่ผ่านชั้นบรรยากาศเข้ามาแล้วถูกกักไว้ในโลก ไม่สามารถสะท้อนกลับออกไปได้ ก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทนและก๊าซไนตรัสออกไซด์ http://www.thaispaceweather.com/IHY/Earth/images/g1.jpg http://tbn0.google.com/images?q=tbn:BVtwd6MqRB2TGM:http://www.sudipan.net/phpBB2/files/acfed41.jpg
กราฟแสดงปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่เพิ่มขึ้น ในบรรยากาศในปี ค ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:Mauna_ Loa_Carbon_Dioxide.png
ปัญหาของภาวะโลกร้อนที่มีต่อภาวการณ์ผลิตพืช 1. ปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่ออัตราการสังเคราะห์แสงในพืชแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน อัตราการสังเคราะห์แสงในพืช C4 เพิ่มขึ้นต่ำกว่า พืช C3 ที่มา: Wolfe, D.W and Erickson, J.D, 1993 กราฟแสดงการเพิ่มขึ้นของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์แสงของพืช C3 และ C4
ปัญหาของภาวะโลกร้อนที่มีต่อภาวการณ์ผลิตพืช(ต่อ) 2. อัตราการสังเคราะห์แสงที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้พืชอาหารมีคุณภาพต่ำลง เนื่องจากอัตราส่วนของธาตุไนโตรเจนลดลง (C:N ratio สูงขึ้น) (ลดลง 15-25%) 3. ส่งผลต่อการเปิด-ปิด ปากใบของพืช ทำให้พืชหลายชนิด มีอัตราการคายน้ำลดลง 4. ปริมาณของสาร secondary metabolites เพิ่มขึ้น (30%)
ปัญหาของภาวะโลกร้อนที่มีต่อภาวการณ์ผลิตพืช(ต่อ) 6. พืชตัดแต่งพันธุกรรมต้านทานแมลงผลิต toxin- proteins ลดลง 7. อัตราการกินอาหารของแมลงกินพืชเพิ่มขึ้น (30%) ความเสียหายเพิ่มขึ้น
ผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อแมลงศัตรูพืช 1. ระยะเวลาในการพัฒนาจนเป็นตัวเต็มวัยเพิ่มขึ้น เนื่องจากอาหารมีคุณภาพต่ำลง 2. อัตราการตายเพิ่มขึ้น/ระดับประชากรลดลง 3. เกิดการแพร่กระจายและระบาดของแมลงศัตรูพืชชนิดใหม่แทนที่ศัตรูหลัก
ผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อแมลงศัตรูพืช (ต่อ) 3. ความสมบูรณ์ (Fecundity) และขนาดของไข่ลดลงในประชากร รุ่นที่ 2 4. แมลงพวกเจาะดูด (phloem-feeding) whole-cell-feeding insects) มีอัตราการพัฒนาเป็นตัวเต็มวัยสูงขึ้น มีประชากรเพิ่มขึ้น
แนวทางในการแก้ปัญหาโลกร้อน ลดการบริโภคเชื้อเพลิง ที่เป็นน้ำมัน หรือถ่านหิน ที่ก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ หันไปใช้พลังงานอื่น เช่น ก๊าซธรรมชาติ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังน้ำ พลังลม หรือแม้แต่พลังงานนิวเคลียร์ ปรับปรุงลักษณะนิสัยการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลืองโดยเฉพาะในประเทศพัฒนาแล้ว เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานให้มากยิ่งขึ้น
แนวทางในการแก้ปัญหาโลกร้อน (ต่อ) การรักษา เสริมสร้าง และเพิ่มพูนแหล่งดูดซับ (sinks) และแหล่งเก็บกัก (reservoirs) ก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ การรักษาพื้นที่ป่าโดยลดการตัดไม้ทำลายป่าและโดยการปลูกป่า http://www.travelthai.in.th/pic/WWF_2.jpg
นางสาวพุฒตาล ทิพเพ็ง รหัสนักศึกษา 4740163 เสนอโดย... นางสาวพุฒตาล ทิพเพ็ง รหัสนักศึกษา 4740163 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วิสุทธิ์ สิทธิฉายา ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2