การใช้น้ำมันปิโตรเลียมป้องกันกำจัดแมลงศัตรูส้มUsing Petroleum Oil to Control Citrus Insect Pest
น้ำมันปิโตรเลียม น้ำมันปิโตรเลียม หมายถึง น้ำมันดิบ (crude oil) ก๊าซธรรมชาติ (natural gas) ก๊าซธรรมชาติเหลว สารพลอยได้ และไฮโดรคาร์บอนอื่นๆที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และอยู่ในสภาพอิสระ มีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอน มักพบอยู่ใน ชั้นหินตะกอน (sedimentary rock) ทั้งในสภาพที่เป็นของแข็ง ของหนืด ของเหลว หรือก๊าซ แหล่งเก็บน้ำมันในชั้นหินตะกอน รูปที่ 1 แสดงแหล่งพื้นที่ใต้ดินที่มีการพบปิโตรเลียมถูกกักเก็บอยู่ ที่มา : การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย. 2544 หน้า 1
องค์ประกอบของน้ำมันปิโตรเลียม น้ำมันปิโตรเลียมเป็นสารผสมเชิงซ้อนของสารประกอบอินทรีย์ ไฮโดรคาร์บอนพวกแอลิแฟติก (aliphatic compound) และอะโรเมติก (aromatic compound ) และมีส่วนของไนโตรเจน ออกซิเจน และกำมะถันอยู่ด้วยเล็กน้อย
สารโมเลกุลหลักที่สำคัญ ปี 1915 1. paraffin (CnH2n+2) สารโมเลกุลหลักที่สำคัญ 2. napthenes (CnH2n) 3. aromatics (CnH2n-6) 4. unaturates
สูตรสำเร็จของน้ำมัน (Formulation) ได้มีการพัฒนาน้ำมันปิโตรเลียมที่เรียกว่าน้ำมันแนโร – เรนจ์ และทำเป็นสูตรสำเร็จโดยผสมสารอิมัลซิฟายเออร์ซึ่งช่วยทำให้ผสมกับน้ำ สูตรผสมของน้ำมันปิโตรเลียมมีอยู่ 2 สูตร 1.ไวท์ ออยส์ (White oils) 2. เคลียร์ ออยส์ (Clear oils)
คุณสมบัติของน้ำมันปิโตรเลียมในการกำจัดศัตรูพืช 1. เป็นสารอินทรีย์ ย่อยสลายได้ด้วยแสงอุลตร้าไวโอเล็ต ก๊าซออกซิเจน และจุลินทรีย์ต่างๆ ในธรรมชาติ 2. เป็นอันตรายน้อยต่อสัตว์เลือดอุ่น จึงค่อนข้างปลอดภัยต่อผู้ฉีดพ่น 3. มีผลกระทบน้อยต่อศัตรูธรรมชาติ 4. ไม่มีพิษตกค้างบนใบพืช จึงไม่เป็นอุปสรรรคต่อการดำรงชีวิต ของศัตรูธรรมชาติ 5. ศัตรูพืชสร้างความต้านทานต่อปิโตรเลียม ออยส์ ได้ยาก 6. มีประสิทธิภาพป้องกันกำจัดศัตรูพืชหลายชนิดโดยเฉพาะศัตรูพืชที่มี พฤติกรรมอยู่กับที่
ส้ม ไทยมีเนื้อที่ปลูกส้มประมาณ 500,000 ไร่ ปริมาณผลผลิตส้มแต่ละ ปีประมาณ 4 ล้านตัน ส้มทีปลูกกันทั่วไปแบ่งออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มติดเปลือก กลุ่มส้มเปลือกล่อนหรือพวกเขียวหวานและส้มจุก มูลค่าการส่งออกส้มของไทยมีกาขยายตัวอย่างมากประมาณ 54 ล้านบาท
โรคส้ม โรคกรีนนิ่ง โรคทริสเทซ่า ที่มา: www.phrae.go.th/orange
โรคส้ม(ต่อ) โรคแคงเกอร์ โรคเมลาโนส ที่มา: www.phrae.go.th/orange
แมลงศัตรูส้ม พืชตระกูลส้มเป็นพืชที่มีแมลงศัตรูมากชนิด ที่ทำลายส้มโดยการกัดกิน หรือดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนต่าง ๆ ของส้มก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโต ของต้นส้ม และผลผลิตส้ม เพลี้ยไก่แจ้ส้ม Diaphorina citri ที่มา : http://agriqua.doae.go.th เพลี้ยอ่อนส้ม Toxoptera aurantii ที่มา : http://kbi.iwebland.com/keta.htm
แมลงศัตรูส้ม (ต่อ) แมลงค่อมทอง Hypomeces squamosus เพลี้ยไฟพริก Scirtothirps dorsalis ไรส้ม Oligotrychus sp. หนอนชอนใบส้ม Phyllocnistis citrella ที่มา : http://kbi.iwebland.com/keta.htm
การใช้น้ำมันปิโตรเลียมป้องกันกำจัดแมลงศัตรูส้ม รูปที่ 2 ละอองสารตกบนใบพืช และการแยกตัวของน้ำมันกับน้ำ ที่มา: Beattie, G.A.C. 2005. Using petroleum-based spray oils in citrus
การใช้น้ำมันปิโตรเลียมป้องกันกำจัดแมลงศัตรูส้ม น้ำมันปิโตรเลียมกำจัดแมลงและไรได้โดยพิษทางการสัมผัส น้ำมันไปอุดรูหายใจ ลดออกซิเจน ทำให้แมลงขาดอากาศและตายในที่สุด มีผลต่อการไล่แมลง รบกวนการวางไข่และการกินอาหารของแมลงและไร ทำลายไข่ของแมลงและไร
ดร. แอนดรูว์ บีทที ป้องกันกำจัดศัตรูส้มได้ เช่น เพลี้ยหอยเกือบทุกชนิด ดร. แอนดรูว์ บีทที รายงานว่าปิโตรเลียม สเปรย์ ออยส์ ความเข้มข้น 0.5 – 2% ป้องกันกำจัดศัตรูส้มได้ เช่น เพลี้ยหอยเกือบทุกชนิด ไรแดงและไรสนิมส้ม ความเข้มข้น 0.3 – 0.5% สามารถป้องกันกำจัดตัวอ่อนเพลี้ยไก่แจ้ส้ม ความเข้มข้น 0.25 – 0.5% จะช่วยลดการทำลายของหนอนชอนใบส้ม
ผลิตภัณฑ์ของน้ำมันปิโตรเลียม Citrole Sunspray Ultrafine Caltex levis (C21) Ampol D-C TRON NR (C23) ประเทศไทย DC Tron Plus NR Hoechst oil FT 99
ความปลอดภัยของน้ำมันปิโตรเลียมต่อพืช ชนิดของพืช ระยะการเจริญเติบโตของพืชที่จะทำการฉีดพ่น สภาพแวดล้อมในขณะฉีดพ่น ความถี่ของการฉีดพ่น ไม่ควรใช้น้ำมันก่อนการใช้สารกำจัดเชื้อราแคปแทน
สรุป การใช้น้ำมันปิโตรเลียมกำจัดแมลงศัตรูพืชจึงเป็นทางเลือกใหม่ สำหรับเกษตรกรผู้ปลูกส้มเพื่อใช้ทดแทนสารเคมีฤทธิ์กว้าง ซึ่งน้ำมันปิโตรเลียมมีพิษตกค้างสั้นไม่เป็นอันตรายต่อพืช ผู้ใช้ ตลอดจนผู้บริโภค
นำเสนอโดย นางสาวสุพรทิพย์ คชาสุวรรณ รหัสนักศึกษา 4740276 นางสาวสุพรทิพย์ คชาสุวรรณ รหัสนักศึกษา 4740276 อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา รศ.ดร. สุรไกร เพิ่มคำ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2