การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
เอกสารเคมี Chemistry Literature
Lab 2 การทดลองการแข่งขันกับวัชพืช
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
แบบของการเพิ่มประชากร
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
การปลูกพืชกลับหัว.
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
การไถพรวนและเตรียมแปลง ต้องทำการไถพรวนให้ พื้นที่ในแปลงโล่งแจ้ง ปลูกพืชสมุนไพรไล่แมลง ให้ปลูกก่อนที่จะปลูกพืช หลักคือพืชผักต่างๆ ( เสริมกับการป้องกัน.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
การป้องกันกำจัดหอยทาก
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
วิธีหมัก หมัก 3 วัน เติมออกซิเจน.
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
การเจริญเติบโตของพืช
Welcome to .. Predator’s Section
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ Integrated Pest Management of Dimondback Moth Plutella xylostella L. (Lepidoptera : Plutellidae)

รูปร่างและชีวประวัติ ภาพที่ 1 วัฏจักรชีวิตของหนอนใยผัก ที่มา : Rowell (2004) Integrated Pest Management of Dimondback Moth

ภาพที่ 2 อาการที่เกิดจากการทำลายของหนอนใยผัก ลักษณะการทำลาย ภาพที่ 2 อาการที่เกิดจากการทำลายของหนอนใยผัก ที่มา : Rowell, 2004 Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ Integrated Pest Management of Dimondback Moth

ก่อนปลูก การเลือกเวลาปลูก การเลือกพื้นที่ปลูก Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การเลือกเวลาปลูก หนอนใยผักมักจะมีการลดจำนวนประชากรลงเมื่อมีสภาพอากาศชื้น เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค พ.ย. ธ.ค. ฤดูฝน Integrated Pest Management of Dimondback Moth

ควรปลูกพืชให้อยู่เหนือลม การเลือกพื้นที่ปลูก ควรปลูกพืชให้อยู่เหนือลม ทิศทางของลม แปลงปลูก แปลงปลูก Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การปลูก การปลูกพืชที่มีความต้านทาน การปลูกพืชที่เป็นพืชอาศัยและเป็นพืชอาหารของศัตรูธรรมชาติ การปลูกพืชหลายชนิด Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การปลูกพืชที่มีความต้านทาน Hillyer and Thorsteinson (1969)อ้างถึงในLim,1990 รายงานว่า พืชที่มีความต้านทานต่อหนอนใยผักจะต้องมีสาร - Allyl isothiocyanate - Glucocheirolin - Glucoerucin - Gluconapin - Gluconasturtiin - Gluconringiin - Glucotropaeolin - Progoitrin - Sinalbin - Sinigrin Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การปลูกพืชที่เป็นพืชอาศัยและเป็นพืชอาหารของศัตรูธรรมชาติ ภาพที่ 3 การปลูกดอกไม้ใกล้กับแปลงผัก ที่มา : Rowell (2004) Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การปลูกพืชหลายชนิด การปลูกพืชหลายชนิดจะช่วยลดจำนวนประชากรของหนอนใยผักได้ Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การใช้สารกำจัดศัตรูพืชจากธรรมชาติ ระยะปลูก ควบคุมโดยใช้ชีววิธี การจัดการน้ำ การใช้วิธีกล การใช้สารกำจัดศัตรูพืชจากธรรมชาติ การใช้สารเคมี Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การควบคุมโดยใช้ชีววิธี Integrated Pest Management of Dimondback Moth

ภาพที่ 4 ตัวเบียนต่างๆของหนอนใยผัก ก. ข. ค. ก.Trichogrammatoidea bactrae ข. Cotesia plutellae ค. Macromalon orientale ง. จ. ฉ. ง. Diadegma semiclausum จ. Diadromus collaris ฉ. Brachymeria excarinata ภาพที่ 4 ตัวเบียนต่างๆของหนอนใยผัก ที่มา : Rowell, 2004 Integrated Pest Management of Dimondback Moth

ภาพที่ 5 การจัดการน้ำรูปแบบต่างๆ ก. ข. ข. การให้น้ำแบบหยด ก. การให้น้ำแบบหัวฉีด ภาพที่ 5 การจัดการน้ำรูปแบบต่างๆ ที่มา : Rowell, 2004 Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การใช้วิธีกล ก. ข. ค. ก. แรงงานคน ข. กับดักแสงไฟ ค. กับดักกาวเหนียว ภาพที่ 6 การใช้วิธีกล ที่มา : Rowell, 2004 ค. กับดักกาวเหนียว Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การใช้สารกำจัดศัตรูพืชจากธรรมชาติ ค. ก. ข. ก.ดาวเรือง ข.ตะไคร้หอม ค.น้อยหน่า ง. จ. ง.สะเดา จ.สาบเสือ ภาพที่ 7 พืชต่างๆที่สามารถป้องกันกำจัดหนอนใยผักได้ ที่มา : นิรนาม, (ม.ป.ป.) Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การใช้สารเคมี ตารางที่ 1 แสดงค่า Economic thresold level ของหนอนใยผัก ในช่วงอายุต่างๆของพืชและการจัดการ ช่วงอายุของพืช Economic threshold level การจัดการ 1 - 4 สัปดาห์ หนอนใยผัก < 2 ตัว/ต้น - หนอนใยผัก >2<4 ตัว/ต้น และมีอัตราการเบียน > 40% หนอนใยผัก >2<4 ตัว/ต้น และมีอัตราการเบียน < 40% ใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชจากธรรมชาติหรือเชื้อโรค หนอนใยผัก > 4ตัว/ต้น ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การใช้สารเคมี ตารางที่ 1 แสดงค่า Economic thresold level ของหนอนใยผัก ในช่วงอายุต่างๆของพืชและการจัดการ(ต่อ) ช่วงอายุของพืช Economic threshold level การจัดการ 5 - 10 สัปดาห์ หนอนใยผัก < 4ตัว/ต้น - หนอนใยผัก >4<7 ตัว/ต้น และมีอัตราการเบียน >40% หนอนใยผัก >4<7 ตัว/ต้น และมีอัตราการเบียน <40% ใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชจากธรรมชาติหรือเชื้อโรค หนอนใยผัก >7ตัว/ต้น ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ที่มา : Loke et al.(1990) Integrated Pest Management of Dimondback Moth

ภาพที่ 8 สารเคมีชนิดต่าง การใช้สารเคมี - อะบาเม็กติน - ไดอะเฟนไทยูเอน - คลอร์ฟีนาเพอร์ - ฟิโปรนิล ภาพที่ 8 สารเคมีชนิดต่าง ที่มา : ชะเอม, (ม.ป.ป.) Integrated Pest Management of Dimondback Moth

หลังการเก็บเกี่ยว การกำจัดเศษซาก การปลูกพืชหมุนเวียน Integrated Pest Management of Dimondback Moth

ภาพที่ 9 การใช้แรงงานคนถอนโคนผักออกจากแปลง การกำจัดเศษซากพืช ภาพที่ 9 การใช้แรงงานคนถอนโคนผักออกจากแปลง ที่มา : ชะเอม, (ม.ป.ป.) Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การปลูกพืชหมุนเวียน ถ้าปลูกพืชนั้นเพียงชนิดเดียวคือ Integrated Pest Management of Dimondback Moth

การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืช 2 ชนิดขึ้นไป รอบแรกปลูกกะหล่ำปลี ถั่วลันเตาและหัวผักกาด หรือกะหล่ำปลีและบวบ รอบสองปลูกมะเขือเทศและถั่วลันเตา หรือกะหล่ำปลีและฟักหรือแตงกวา Integrated Pest Management of Dimondback Moth

สรุป วิธีการป้องกันกำจัดหนอนใยผักที่ดีที่สุดควรใช้วิธีการจัดการแบบบูรณาการ ช่วยสนับสนุนให้เกิดการควบคุมตามธรรมชาติ Integrated Pest Management of Dimondback Moth

โดย... น.ส. วรรณวิสาข์ จันทร์แก้ว 4740216 อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา รศ.ดร.จิราพร เพชรรัตน์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2