Physiology of Crop Production

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

กลไกการวิวัฒนาการ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ของส่วนประกอบของเซลล์
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การศึกษาชีววิทยา.
การปลูกพืชผักสวนครัว
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
กิจการนิสิต (Student Affairs)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
( Organization Behaviors )
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
The General Systems Theory
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
(Organizational Behaviors)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
Introduction to Epidemiology
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
การปลูกพืชผักสวนครัว
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การออกแบบการเรียนรู้
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
การเจริญเติบโตของพืช
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
Kingdom Plantae.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Physiology of Crop Production Lecture 1 : Course Introduction Physiology of Crop Production 1. Introduction -Course description 2. Definition -What is crop physiology -Growth and development 3. Historical background - From Plant Physiology to Crop Physiology 4. General concept -Physiological processes from planting to yield harvesting

วัตถุประสงค์ : เข้าใจความหมาย และขอบเขต ของการศึกษา สรีรวิทยาการผลิตพืช แนวคิดพื้นฐานของการศึกษาสาขาวิชานี้

Definitions : สรีรวิทยา : วิชาที่ว่าด้วยสมบัติและการกระทำหน้าที่ ของอินทรีย์ หรือ ส่วนของร่างกายต่างๆซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่มีรูปร่างและมีชีวิต Physiology : That branch of biology which has to do with the processes going on in living things and the working of their different parts, as opposite to their structure

สรีรวิทยาการผลิตพืช (Crop Physiology) เป็นวิชาที่ประยุกต์จากวิชาสรีรวิทยาพื้นฐานของพืช (Plant Physiology) เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตพืชทางด้านการเกษตร นักสรีรวิทยาการผลิตพืช (crop physiologist) จะเน้นการศึกษาเกี่ยวกับผลผลิตของพืชปลูกที่เป็นผลเนื่องมาจากผลของกระบวนการ การเจริญเติบโต (growth) และพัฒนาการของพืช (development) ซึ่งเกิดขึ้นจากปัจจัยภายในพืชเองหรือพันธุกรรมที่สัมพันธ์กับปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก และเวลาศึกษาจึงศึกษาในแปลงของพืชปลูก (crop community) ไม่ใช่ศึกษาเฉพาะต้นๆเดียวอย่างเช่นที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการสรีรวิทยาของพืชทั่วๆไป

นักสรีรวิทยา การผลิตพืช ใช้หลักการว่า ผลผลิตของพืชนั้นเกิดขึ้นจากการเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างเป็นลำดับขั้นตอน ตั้งแต่เมล็ดที่ปลูกลงไปจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งปัจจัยสภาพแวดล้อมจะมีผลสำคัญกระบวนการทางสรีระในแต่ละช่วงของการเจริญเติบโตและพัฒนาการเหล่านั้น การศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระของพืชจะทำให้เข้าใจถึงวิธีการที่จะปรับปรุงสภาพแวดล้อมต่างๆให้เกิดความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืชและนำไปสู่การให้ผลผลิตที่ดีของพืช

การเจริญเติบโต (Growth) : การเพิ่มจำนวน หรือ ขนาด ของ ซึ่งสามารถวัดได้ เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตจากการแบ่งเซลล์หรือเพิ่มขนาดของเซลล์ ในช่วงเวลาที่เพิ่มขึ้น การเจริญเติบโตที่เพิ่มขึ้นตามเวลาจะมีลักษณะเป็นรูปตัว S (sigmoid curve)

การพัฒนาการ : Development กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับต้นพืช จากเซลล์ไปเป็น เนื้อเยื่อ ไปเป็น อวัยวะส่วนต่างๆ โดยผ่านกระบวนการ differentiation เพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่าง เช่น ใบ ลำต้น ราก ดอก ผล ฯลฯ จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงปริมาณที่สังเกตเห็นได้ Source: Sengbusch , 2001 Development : The progression through time of organogenetic events, and ontogeny of each organ is based upon particular patterns of cell and tissue differentiation

Differentiation :

ตัวอย่าง ของกระบวนการพัฒนาการของพืช จาก เซลล์ เป็นเนื้อเยื่อ เป็น อวัยวะ ( Source: Sengbusch , 2001)

ที่มาหรือประวัติของวิชา การค้นพบความรู้พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพืชมีมาเป็นลำดับ ระหว่างช่วง ค.ศ.ที่18-19 ในยุโรป เช่น การค้นพบพืชรับ CO2 และคาย O2 Joseph Priestley ในปี ค.ศ. 1771 ซึ่งนำไปสู่การค้นพบกระบวนการสังเคราะห์แสงในเวลาต่อมา การค้นพบการดูดธาตุอาหารจากดินของพืชในระหว่างปี ค.ศ. 1800-1860 เป็นต้น แต่แนวคิดเชิงประยุกต์วิชาการทางสรีรวิทยาพื้นฐานมาใช้เพื่อพัฒนาการผลิตพืชทางการเกษตรโดยเรียกวิทยาการใหม่นี้ว่า Crop Physiology ได้แก่นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คือ Balls (1915) โดยให้แนวคิดไว้ว่า เป็นแนวทางการศึกษาการเจริญเติบของพืชปลูกโดยศึกษาอิทธิพลของวิธีการจัดการ เช่น จัดระยะปลูก วันปลูกที่เหมาะสม ตลอดช่วงของการเจริญเติบโตที่มีผลต่อผลผลิต

สรุป สรีรวิทยาการผลิตพืช เป็นวิชาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงอิทธิพลของปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีต่อผลผลิตของพืชปลูกแต่ละชนิดแต่ละพันธุ์ตลอดระยะการเจริญเติบโต อธิบายผลที่เกิดขึ้นโดยอาศัยพื้นฐานวิชาการทางด้านสรีรวิทยาของพืชเป็นหลัก