พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
การสืบพันธุ์ของพืช.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
สื่อประกอบการเรียนรู้
Cloning : การโคลน , โคลนนิง
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home
การควบคุมปลวกโดยชีววิธีด้วยการใช้เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae Metschnikoff Biological Control of Termites by Using the Green Muscardine Fungus.
การดึงดูดเพลี้ยไฟของกับดักกาวเหนียวสี Attractiveness of thrips to colored sticky trap NR.
A wonderful of Bioluminescence
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
รูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุง
ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
(FUNGUS-FARMING INSECTS)
สัมมนา ผลกระทบของสารฆ่าแมลงต่อศัตรูธรรมชาติ
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
แมลงศัตรูไม้สัก Insect Pest of Teak Trees
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
หนอนพยาธิ (Helminth).
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
การสำรวจผีเสื้อกลางวัน
มาเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
การสืบพันธุ์ของพืช.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
การเจริญเติบโตของพืช
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
ปลาหางนกยูง.
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
Kingdom Plantae.
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects

การสืบพันธุ์ การเพิ่มจำนวนลูกหลานที่มีลักษณะเหมือนเดิมโดยที่สิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นนี้จะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ล้มหายตายจากไป ทำให้สิ่งมีชีวิตเหลือรอดอยู่ในโลกได้โดยไม่สูญพันธุ์ไป Brood Producing Behaviors in Insects

การสืบพันธุ์มี 2 วิธี Asexual reproduction Sexual reproduction ภาพที่1 แสดง sexual ใน Graphocephala coccinea ที่มา : นิรนาม (2549) ภาพที่2 แสดง asexual ใน aphid ที่มา : Peter and Bryant (ม.ป.ป.) Brood Producing Behaviors in Insects

Sexual reproduction เป็นการสืบพันธุ์ที่ต้องอาศัยเพศโดยที่มีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียแล้วผสมกันเกิดเป็นสิ่งมีชีวิตหน่วยใหม่ซึ่งมีลักษณะเหมือนพ่อแม่ Egg + Sperm Zygote Brood Producing Behaviors in Insects

การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ภาพที่ 1 แสดงการสร้างเซลสืบพันธุ์เพศผู้ ที่มา : นิรนาม(ม.ป.ป) Brood Producing Behaviors in Insects

ภาพที่ 2 แสดงการสร้างเซลล์ไข่ การสร้างเซลล์สืบพันธุ์(ต่อ) การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ภาพที่ 2 แสดงการสร้างเซลล์ไข่ ที่มา : นิรนาม (ม.ป.ป.) Brood Producing Behaviors in Insects

Fertilization กระบวนการที่เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียผสมกันเกิดเป็นไซโกต Egg + Sperm Zygote 3 ภาพที่ 3 แสดงการปฏิสนธิระหว่างไข่และอสุจิ ที่มา : นิรนาม (ม.ป.ป.) Brood Producing Behaviors in Insects

Asexual reproduction การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่มีการผสมกันระหว่างเชื้อตัวผู้กับไข่ของเพศเมีย Sperm Egg zygote ( not fertilization) Brood Producing Behaviors in Insects

Atypical mode of reproduction Parthenogenesis Hermaphroditism Polyembryony Reproductive effect of endosymbiont Brood Producing Behaviors in Insects

ที่มา : Peter and Bryant (ม.ป.ป.) Parthenogenesis เป็นการสืบพันธุ์ที่เพศเมียสามารถให้กำเนิดลูกหลานได้โดยไข่ไม่ต้องได้รับการผสมกับอสุจิ ภาพที่ 4 แสดงรูปแบบการสืบพันธุ์ของเพลี้ยอ่อน ที่มา : Peter and Bryant (ม.ป.ป.) ภาพที่ 5 แสดง life cycle ใน aphids ที่มา : นิรนาม ( ม.ป.ป.) Brood Producing Behaviors in Insects

Parthenogenesis (ต่อ) Thelytoky parthenogenesis ไข่ที่สามารถเจริญเติบโตเป็นเพศ เมียเพียงอย่างเดียว Arrhenotokous parthenogenesis ไข่ที่สามารถเจริญเติบโตเป็น เพศผู้เพียงอย่างเดียว Amphitokous parthenogenesis ไข่ที่สามารถเจริญเติบโตเป็นได้ ทั้ง 2 แบบ คือ แมลงที่มี 2 เพศในตัวเดียวหรือเพศกะเทย Brood Producing Behaviors in Insects

Paedogenesis Larval paedogenesis แมลงสามารถกำเนิดลูกหลานได้ทั้งที่ยังอยู่ในระยะ larval Papal paedogenesis แมลงสามารถให้กำเนิดลูกหลานได้ทั้งที่ยังอยู่ในระยะ papal Neoteny แมลงไม่มีระยะกลางของการเจริญเติบโต Brood Producing Behaviors in Insects

Hermaphroditism เป็นแมลงที่มี2เพศในตัวเดียวกัน หรือที่เรียกว่า เพศกะเทย ภาพที่ 5 แสดงการสืบพันธ์แบบ Hermaphroditism in Icerya purchasi ที่มา : นิรนาม (ม.ป.ป.) Brood Producing Behaviors in Insects

ภาพที่ 6 แสดงการเบียน tobacco hornworm caterpillar จากตัวต่อ Polyembryony เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ที่ไข่1ใบ สามารถผลิต embryo ได้หลายๆ embryo ภาพที่ 6 แสดงการเบียน tobacco hornworm caterpillar จากตัวต่อ ที่มา : นิรนาม (ม.ป.ป.) Brood Producing Behaviors in Insects

Reproductive effect of endosymbiont Cytoplasmic Parthenogenesis Feminization Brood Producing Behaviors in Insects

ภาพที่ 7 แสดงการแมลงที่ได้รับการเข้าทำลายจากเชื้อปฏิปักษ์ Cytoplasmic ภาพที่ 7 แสดงการแมลงที่ได้รับการเข้าทำลายจากเชื้อปฏิปักษ์ ที่มา : Anonymous (2549) Brood Producing Behaviors in Insects

Feminization เป็นการเปลี่ยนรหัสพันธุกรรมภายในเพศผู้ให้เป็นเพศเมีย บางครั้งเพศเมียจะเข้าไปขัดขวางการทำงานของยีนในเพศผู้เพื่อให้เพศผู้เจริญเติบโตไปเป็นเพศเมียในอนาคต

ความแตกต่างระหว่างการสืบพันธุ์แบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ Sexual ต้องกำเนิดจากพ่อและแม่ เพศผู้และเพศเมียต้องมีอวัยวะสืบพันธุ์ที่สมบูรณ์ ตัวอ่อนเกิดจากการปฏิสนธิระหว่างไข่ของเพศเมียกับอสุจิของเพศผู้ ลูกจะมีการปรับตัวในการผสมพันธุ์เพื่อให้สามารถดำรงเผ่าพันธุ์ได้ต่อไป การผสมกันต้องขึ้นอยู่กับระยะเวลาหรือฤดูกาลผสมพันธุ์ สามารถปรับตัวในสิ่งแวดล้อมได้ดีกว่า Asexual กำเนิดจากแม่เพียงตัวเดียว ไม่จำเป็นต้องมีเพศผู้ ไม่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้น ลูกไม่มีความผิดเพี้ยนไปจากแม่ สามารถให้กำเนิดลูกได้หลายๆตัวในช่วงระยะเวลาสั้นๆ จะได้รับการดำรงชีวิตจากแม่จะปรับตัวในสิ่งแวดล้อมได้น้อย Brood Producing Behaviors in Insects

สรุป การสืบพันธุ์ทั้ง 2 แบบนั้นจะเป็นไปได้อย่างสมบูรณ์ก็ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆเหล่านี้ ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ความชื้น การแลกเปลี่ยนแก๊ส อาหาร เป็นต้น รวมถึงความอุดมสมบูรณ์ของผู้ให้อาศัย (Hosts) Brood Producing Behaviors in Insects

อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา โดย... นางสาว นัยนา เปลี่ยนดี รหัส 4740108 อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา รศ.ดร. สุรไกร เพิ่มคำ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2