น้ำมันรั่วที่เกาะเสม็ด..... ถ้าเกิดที่สงขลา ?!? พงศ์ธีระ บัวเพ็ชร คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต Tel. 089-7816795 E-mail: phongtheera_b@hotmail.com,
ผลกระทบที่เกิดจากการรั่วไหลของน้ำมัน ทางกายภาพ (Physical impact) สิ่งมีชีวิต การท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวบริเวณ ชายฝั่งทะเล การปน เปื้อนของสารพิษ(Toxic contamination) การปนเปื้อนต่อแหล่งอาหาร (Food resource contamination) การประมง และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ชายฝั่ง
ผลกระทบบริเวณชายหาดจากการรั่วไหลของน้ำมันดิบ
ผลกระทบของน้ำมันดิบต่อสิ่งมีชีวิต
วงจรชีวิตเต่าทะเล ชีวิตของเต่าทะเลเริ่มต้นขึ้นในคืนพระจันทร์เต็มดวง แม่เต่าทะเลจะคืบคลานจากท้องทะเลสู่หาดทรายเหนือเขตน้ำขึ้นสูงสุดเพื่อวางไข่ แต่ละครั้งจะมีจำนวนเฉลี่ย 70-130 ฟอง เมื่อวางไข่เสร็จแม่เต่าจะใช้ขาหลังขุดหลุม “ฝังไข่” พร้อมทั้งกลบทรายเมื่อเสร็จภารกิจ โดยจะกลับมาอีกเมื่อจะวางไข่ครั้งต่อไป ขึ้นจากทะเล ขุดหลุมฝังไข่ กลบทราย วางไข่ เตรียมตัวลาจาก กลับลงทะเล
พื้นที่ป่าชายเลน แหล่งหญ้าทะเล
แหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ภาพ: ดร.ธรณ์ ธำรงค์นาวาสวัสดิ์ ภาพ: ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง
ผลกระทบจากการรั่วไหลของน้ำมันดิบต่อการท่องเที่ยว
โครงสร้างของชายหาด และขนาดอนุภาคตะกอนชายหาด หาดหิน (Rocky shore) หาดทราย (Sandy Beach) หาดเลน หาดโคลน (Mud flat)
ความกังวลเกี่ยวกับการปนเปื้อนสารปรอทในระบบห่วงโซ่อาหาร ที่มา: http://www.komchadluek.net/detail/20130815/165848/ไม่น่าห่วงปรอท...พิษในห่วงโซ่อาหารทะเล.html#.UhobtBs2awk
สารเคมีขจัดคราบน้ำมัน สลิคกอร์น (slickgone)
แพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton)
แพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton) Source: http://www.science.gu.se/infoglueCalendar/digitalAssets/1768372488_DetaljBild_zooplankton.jpg
เมทิลเมอร์คิวรี่ (Methylmercury)
ทรัพยากรทางทะเลในพื้นที่การรั่วไหลของน้ำมันดิบ
การรั่วไหลของน้ำมันดิบ บ.PPTGC จ.ระยอง
ที่มา: ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง