ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
การวิจัย RESEARCH.
Management Information System of Air Conditioner Store
Thesis รุ่น 1.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (CAI)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction)
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ระบบข้อสอบออนไลน์.
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.

วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถ นำไปประยุกต์ในด้านต่างๆ เสนอโดย ด. ช. ปพนธีร์ สิทธิคณากูล ม.1/6 เลขที่ 12 ด. ช. ศุภกร พูลโภคะ ม.1/6 เลขที่ 11 ด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1 COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION E-LEARNING ENGLISH 1 SYSTEM วชิราภรณ์ อาวรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว บทคัดย่อ โครงงานระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1 จัดทำขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในเรื่องการจัดการเรื่องการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ อยู่ในรูปแบบบทเรียนของ SCORM ทำให้การเรียนการสอนพัฒนาขึ้นไปในระดับมาตรฐานสากล โดยโครงงานระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1 ได้แบ่งการทำงานออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนของอาจารย์ ส่วนของนิสิต และในส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป ในระบบโครงงานระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1 ได้มีการจัดการข้อมูลพื้นฐาน การศึกษาบทเรียน การทำแบบทดสอบ Pre-test การทำแบบทดสอบ Post-test การทำเกมส์ฝึกทักษะ และมีการจัดเก็บผลคะแนน ซึ่งสามารถรู้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนได้เป็นอย่างรวดเร็ว 1. บทนำ การเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 1 เป็นวิชาหนึ่งที่มีลักษณะการเรียนการสอนแบบบรรยายหลักทฤษฎีก่อนแล้วจึงนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้งาน ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยตนเองในการนำความรู้เชิงทฤษฎีไปประยุกต์ใช้งานโดยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจึงเกิดขึ้น การใช้เทคโนโลยีเพื่อประโยชน์ทางด้านการศึกษาเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างที่ดีของสื่อการเรียนการสอนในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ (FEEDBACK) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี 2. วัตถุประสงค์ 1 เพื่อการออกแบบ และพัฒนาเครื่องมือผลิตสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาอังกฤษ 1 2. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้สามารถนำมาใช้งานได้จริงกับการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 1 3. เพื่อวัดผลความสำเร็จทางการศึกษาบทเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ 1 4. เพื่อการเรียนการสอนในรูปแบบที่สะดวกและมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 1 ภาพที่ 5 แผนภาพซีเควนซ์ไดอะแกรม ภาพที่ 6 แผนภาพความสัมพันธ์ของข้อมูล 4. การพัฒนาระบบ ส่วนที่ 1 การทำงานหลักของระบบ ภาพที่ 7 หน้าจอการจัดการข้อมูลสมาชิก ภาพที่ 8 หน้าจอการสมัครสมาชิก ภาพที่ 9 หน้าจอการทำแบบทดสอบ Pre-test ภาพที่ 10 หน้าจอการทำแบบทดสอบเกมส์ Routing ส่วนที่ 2 การดูผลคะแนนและการออกรายงาน ภาพที่ 11 หน้าจอการดูผลคะแนนแบบทดสอบ Pre-test ภาพที่ 12 หน้าจอการออกรายงานผลคะแนนแบบทอสอบ Pre-test 3. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ จากการเก็บรวบรวมความต้องการและศึกษาปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นของระบบการทำงานได้นำไปสู่กระบวนการออกแบบระบบ ทำให้ทราบถึงกระบวนการทำงานหลักๆ ของระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1 เช่น การจัดการข้อมูลพื้นฐาน การสมัครสมาชิก การดูข้อมูลส่วนบุคคล การทำแบบทดสอบ Pre-test เป็นต้น จากกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทำได้อธิบายกระบวนการทำงาน ดังแผนภาพด้านล่าง ภาพที่ 1 แผนภาพแสดงกระบวนการทำงาน (แบบเก่า) ภาพที่ 2 แผนภาพยูสเคสการทำงาน ภาพที่ 3 แผนภาพยูสเคสการตั้งค่า ภาพที่ 4 แผนภาพคลาสไดอะแกรม 5. สรุปผลและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาและพัฒนาระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1 มีกระบวนการทำงานต่างๆ เช่น การจัดการข้อมูลพื้นฐาน การสมัครสมาชิก การทำแบบทดสอบ Pre-test การดูข้อมูลผลคะแนน การออกรายงาน เป็นต้น ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรื่องการเรียนการสอน ให้เป็นรูปแบบที่สะดวกและมีประสิทธิภาพสามารถรับรู้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้อย่างรวดเร็ว มีการจัดการข้อมูลพื้นฐานซึ่งสามารถอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน นอกจากนี้ยังเป็นสื่อการสอนที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ข้อเสนอแนะจากการพัฒนาระบบ ควรมีการนำไปพัฒนาต่อในเรื่องของการจับเวลาในแบบทดสอบ การมีบททดสอบที่มากขึ้น การจัดการคณะ การจัดการสาขา ที่สอดคล้องกัน การแสดงข้อมูลระดับชั้นปีโดยอัตโนมัติ เพื่อการพัฒนาระบบให้มีประสิทธิภาพ และสามารถรับรู้ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนได้อย่างดี