Intermolecular Forces

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เมื่อสารดูดกลืนแสง มีการถ่ายเทประจุ (charge transfer) หรืออิเล็กตรอน
Electrophilic Substitution of Benzene
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Hybridization = mixing
พันธะเคมี Chemical Bond content.html aboutme.ppt aboutweb.html
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Chemical Bonding I: Basic Concepts
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
Emulsifying Agent.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
Part4 : Alcohols and Reaction of Alcohols
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
โมเลกุล เซลล์ และ ออร์กาเนลล์ (Molecules Cells and Organelles)
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
Sinusiodal Steady-State Analysis
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
สารประกอบ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
การระเบิด Explosions.
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
พันธะเคมี.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
พันธะเคมี อ. ศราวุทธ แสงอุไร ว เคมี พื้นฐาน พันธะเคมี Intermolecular forces 1 นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ วันที่
กระบวนการและเทคนิค การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย.
งานเดี่ยว สรุปเนื้อหาของวิชา (เนื้อหา 3 บทแรก)
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Intermolecular Forces แรงระหว่างโมเลกุล Intermolecular Forces

13-2 แรงระหว่างโมเลกุล เป็นแรงที่ค่อนข้างอ่อนเมื่อเทียบกับแรงภายในโมเลกุลซึ่งเป็นพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก 1. แรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้ว (Dipole-dipole interaction) 2. พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bonding) 3. แรงวันเดอร์วาลส์ (van der Waals force) หรือ แรงลอนดอน (London force) หรือแรงแผ่กระจาย (Dispersion force)

1. แรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้ว * เกิดระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์มีขั้วเนื่องจากการดึงดูดของ +–atom ของโมเลกุลหนึ่งกับ ––atomของอีกโมเลกุลหนึ่ง * แปรตาม 1/d4 (d = ระยะห่างระหว่างโมเลกุล) * เป็นแรงที่อ่อนมาก และมีผลในระยะสั้นมากๆ * แรงนี้เป็นเหตุให้โมเลกุลที่มีขั้วมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลว สูงกว่าโมเลกุลที่ไม่มีขั้วเมื่อเปรียบเทียบระหว่างโมเลกุลที่มี น้ำหนักโมเลกุลใกล้เคียงกัน

(Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 451)

2. พันธะไฮโดรเจน * เป็นแรงไดโพล-ไดโพลที่แรงมากๆ * เกิดระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์มีขั้วที่มี H และธาตุที่มี EN สูงมากๆ (F, O และ N) * ความแข็งแรงของพันธะไฮโดรเจนขึ้นกับค่า EN ของอะตอม ที่เกิดพันธะกับไฮโดรเจน * เมื่อเปรียบเทียบสารสองสารที่มี MW ใกล้เคียงกัน สารที่ สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนจะมีจุดเดือดสูงกว่ามาก

(Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 452)

(Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 452)

3. แรงวันเดอร์วาลส์ หรือ แรงลอนดอน หรือ แรงแผ่กระจาย * เกิดจากการแรงดึงดูดของประจุบวกที่นิวเคลียสของอะตอม หนึ่งกับกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนของอะตอมที่อยู่ใกล้ ทำให้เกิด ขั้วชั่วคราว (temporary dipole) * มีความสำคัญในระยะสั้นมากๆ (แปรตาม 1/d7) * ปัจจัยที่สำคัญที่มีผลต่อแรงนี้ ได้แก่ น้ำหนักโมเลกุล สารที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูง จะยิ่งมีแรงวันเดอร์วาลส์มากกว่า

(Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 453)

(Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 453-454)

(Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 454)

เปรียบเทียบความแรงของแรงระหว่างโมเลกุล พันธะไฮโดรเจน > แรงไดโพล-ไดโพล > แรงแผ่กระจาย

ตัวอย่าง 13-1 แรงระหว่างโมเลกุล จงระบุชนิดของแรงระหว่างโมเลกุลของสารต่อไปนี้ซึ่งอยู่ในเฟสควบแน่น (a) H2O (b) I2 (c) NO2 (a) H2O : H-bonding, London force

(c) NO2 : Dipole-dipole force, London force (b) I2 : London force (c) NO2 : Dipole-dipole force, London force 1414

Dipole-induced dipole forces What is the nature of the intermolecular forces in a mixture of CS2 and acetone? Dipole-induced dipole forces