รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ2 ดร.เมธี ธรรมวัฒนา
2 เซเลอร์ แอนด์ อเล็กซานเดอร์ (Saylor & Alexander ) 3 ทาบา (Taba) 4 สกิลเบค (Skillbeck) 5 อาจารย์สงัด อุทรานันท์ 6 รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่
Hilda Taba (1962) แนวคิดของ Taba ส่วนใหญ่เหมือนกับ Tyler แต่มีการปรับขยายให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยเน้นความสำคัญ และสัมพันธ์ต่อกระบวนการเรียนการสอน เช่นธรรมชาติการเรียนรู้ ระดับเนื้อหา ขอบเขต ความรู้พื้นฐาน ขั้นตอนของการเรียนรู้
เลือกประสบการณ์เรียนรู้ จัดประสบการณ์เรียนรู้ วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการ กำหนดจุดมุ่งหมาย เลือกเนื้อหาสาระ จัดรวบรวม เลือกประสบการณ์เรียนรู้ จัดประสบการณ์เรียนรู้ ประเมินผล Hilda Taba 1962
Saylor & Alexander 1974 ผู้เรียน ความสนใจ สังคม 1.ข้อมูลที่มีส่วนช่วยกำหนดหลักสูตร ผู้เรียน ความสนใจ สังคม จุดหมายของรร. กระบวนการเรียน 2.คณะกก.หลักสูตรกรองข้อมูล 3. การตัดสินของคณะกก. เลือกเนื้อหา กิจกรรม ประสบการณ์ การประเมิน 4. การนำไปใช้
Skilbeck 1984 วิเคราะห์ สถานการณ์ กำหนด เป้าหมาย สร้าง โปรแกรม สื่อ และ นำไปใช้ ติดตาม ประเมิน
วัฏจักรกระบวนการพัฒนาหลักสูตรของ สงัด อุทรานันท์ วัฏจักรกระบวนการพัฒนาหลักสูตรของ สงัด อุทรานันท์ วิเคราะห์ สถานการณ์ กำหนด เป้าหมาย ประเมินการ ใช้หลักสูตร ปรับปรุง แก้ไข คัดเนื้อหา นำไปใช้ กำหนดการ ประเมิน
รศ.ดร.วิชัย วงศ์ใหญ่ (2543:หน้า77) รศ.ดร.วิชัย วงศ์ใหญ่ (2543:หน้า77) 1.กำหนดจุดมุ่งหมาย โครงสร้าง หลักการ 2.ยกร่างเนื้อหาสาระ ประสบการณ์ หน่วยการเรียน รายวิชา 3.นำไปทดลองใช้ และปรับปรุง 4.อบรมครู ผู้บริหาร บุคลากรให้เข้าใจตรงกัน 5.ประกาศใช้ และนำไปปฏิบัติ
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของอุดมศึกษาเป็นอย่างไร? รูปแบบที่ใช้กลับเป็นอย่างนี้ 1 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน /จัดประชุม สัมมนา 2 กำหนดจุดมุ่งหมายหลักสูตร (โดยคณะ กก.) 3 ศึกษาหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง กำหนดเนื้อหาสาระ และประสบการณ์ (ได้ร่าง) 4 นำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาร่างหลักสูตร และปรับแก้ 5 นำเสนอ กก. ประจำคณะ และปรับแก้ไข 6 นำเสนอที่ประชุมบริหารวิชาการ ม.บูรพา 7 นำเสนอที่ประชุมสภา ม.บูรพา 8 นำส่ง สกอ. 9 นำหลักสูตรไปใช้ – อย่างน้อย 5 ปี ปรับปรุง 1 ครั้ง