รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ระบบเศรษฐกิจ.
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในวิชาเศรษฐศาสตร์
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
กลไกราคากับผู้บริโภค
การปฏิวัติอุตสาหกรรม Industrial Revolution
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์
หลักการของทุนนิยม กำไร สูงสุด ราคาขายแพงสุด ต้นทุนต่ำสุด - ผูกขาดกีดกัน คู่แข่ง - ค่าแรงต่ำสุด - ภาษีต่ำสุด - ค่าเช่า ต่ำสุด.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
วิชา หลักการตลาด บทที่ 9 การจัดการโซ่อุปทานและโลจีสติกส์
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง มธ.124 สังคมและเศรษฐกิจ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง

ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม คุณลักษณะที่บ่งบอกทุนนิยม 1. ราคา (price) ถูกกำหนดโดยกลไกราคา (price mechanism) ใช้เป็นตัวส่งสัญญาณในการจัดสรรทรัพยากร 2. กำไร (profit) เป็นตัวชักนำให้ปัจจัยการผลิตเคลื่อนย้าย กำไร กับ ความเสี่ยง คู่กัน 3. กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล (private property rights) ถูกปกป้องโดยรัฐ

ทุนนิยม (Capitalism) เศรษฐกิจเสรีนิยม (Laissez-faire) เศรษฐกิจแบบตลาด (Market Economy) ระบบเศรษฐกิจที่บุคคลสามารถมีกรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิตที่สำคัญ เช่น ที่ดิน ทุน (capital) ระบบเศรษฐกิจที่การจัดสรรทรัพยากร – ผลิตอะไร, ผลิตอย่างไร และผลิตเพื่อใคร – ถูกกำหนดโดยกลไกตลาด

การจัดสรรทรัพยากร โดยกลไกตลาด/กลไกราคา 1. ผลิตอะไร? ด้วยอุปสงค์และอุปทานจะเป็นตัวกำหนดว่าผลิตอะไร ปริมาณ ณ ราคาดุลยภาพ จะกำหนดปริมาณผลิต 2. ผลิตอย่างไร? ผลิตให้มีต้นทุนต่ำสุด => กำไรสูงสุด การแข่งขันจะทำให้มีการผลิตต้นทุนต่ำสุด 3. ผลิตเพื่อใคร? ถูกกำหนดโดย รายได้ และ รสนิยมของผู้บริโภค

Asian Managed Market Socialism Communism command/ Capitalism central planning economy Capitalism market economy

Karl Marx’s Economics Ideas มูลค่าการผลิตเกิดจากแรงงานแต่เพียงอย่างเดียว เพราะทุกขั้นตอนการผลิต มูลค่าเพิ่มเกิดได้จาก แรงงาน กำไร เป็น unearned income หรือ ลาภที่ไม่ควรได้ของนายทุน ชนชั้นนายทุน หากต้องการกำไร ต้อง เอาเปรียบแรงงาน