รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง มธ.124 สังคมและเศรษฐกิจ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม คุณลักษณะที่บ่งบอกทุนนิยม 1. ราคา (price) ถูกกำหนดโดยกลไกราคา (price mechanism) ใช้เป็นตัวส่งสัญญาณในการจัดสรรทรัพยากร 2. กำไร (profit) เป็นตัวชักนำให้ปัจจัยการผลิตเคลื่อนย้าย กำไร กับ ความเสี่ยง คู่กัน 3. กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล (private property rights) ถูกปกป้องโดยรัฐ
ทุนนิยม (Capitalism) เศรษฐกิจเสรีนิยม (Laissez-faire) เศรษฐกิจแบบตลาด (Market Economy) ระบบเศรษฐกิจที่บุคคลสามารถมีกรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิตที่สำคัญ เช่น ที่ดิน ทุน (capital) ระบบเศรษฐกิจที่การจัดสรรทรัพยากร – ผลิตอะไร, ผลิตอย่างไร และผลิตเพื่อใคร – ถูกกำหนดโดยกลไกตลาด
การจัดสรรทรัพยากร โดยกลไกตลาด/กลไกราคา 1. ผลิตอะไร? ด้วยอุปสงค์และอุปทานจะเป็นตัวกำหนดว่าผลิตอะไร ปริมาณ ณ ราคาดุลยภาพ จะกำหนดปริมาณผลิต 2. ผลิตอย่างไร? ผลิตให้มีต้นทุนต่ำสุด => กำไรสูงสุด การแข่งขันจะทำให้มีการผลิตต้นทุนต่ำสุด 3. ผลิตเพื่อใคร? ถูกกำหนดโดย รายได้ และ รสนิยมของผู้บริโภค
Asian Managed Market Socialism Communism command/ Capitalism central planning economy Capitalism market economy
Karl Marx’s Economics Ideas มูลค่าการผลิตเกิดจากแรงงานแต่เพียงอย่างเดียว เพราะทุกขั้นตอนการผลิต มูลค่าเพิ่มเกิดได้จาก แรงงาน กำไร เป็น unearned income หรือ ลาภที่ไม่ควรได้ของนายทุน ชนชั้นนายทุน หากต้องการกำไร ต้อง เอาเปรียบแรงงาน