CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
การคลังและนโยบาย การคลัง
ประสิทธิภาพการใช้นโยบายภายใต้การวิเคราะห์แบบจำลอง IS-LM
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ระบบเศรษฐกิจ.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
ประโยคใจความสำคัญ ประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในย่อหน้านั้น
Group 1 Proundly Present
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การบริโภค การออม และการลงทุน
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
งบลงทุน Capital Budgeting
Financial Management.
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
1.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
Creative Accounting
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT” & Crowding Out Of Capital.

National Debt and Crowding Out Of Capital. การเก็บออมที่ประชาชนสามารถกระทำได้นั้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท การถือพันธบัตรรัฐบาล (Government Bonds) และ การลงทุนในสินทรัพย์ประเภททุน (Capital Investment) สมการการออม st = kt + bt ศึกษาผลจากการเพิ่มปริมาณพันธบัตร(การก่อหนี้ประชาชาติ)ที่กระทบต่อปริมาณการลงทุนในสินทรัพย์ทุน

การวิเคราะห์และเครื่องมือ วิเคราะห์การก่อหนี้ประชาชาติของรัฐบาลใน 2 กรณี การก่อหนี้ประชาชาติที่ส่งผลกระทบต่อการลงทุน การก่อหนี้ประชาชาติที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการลงทุน (Neutral) เศรษฐกิจภายใต้เงื่อนไข Overlapping Generations มีประชากรสองช่วงชีวิต คนหนุ่มมีผลผลิต y1, คนแก่มีผลผลิต y2 สมมติให้ประชากรคงที่ในทุกช่วงเวลา สมมติการลงทุนในสินทรัพย์ทุนให้ผลตอบแทน x เมื่อผ่านไปหนึ่งช่วงเวลา ระบบไม่มีเงิน และรัฐบาลสามารถออกพันธบัตรที่ให้ผลตอบแทนเท่ากับการลงทุนได้ รัฐเก็บภาษีจากคนหนุ่มเป็นผลผลิตจำนวน 1 หน่วย ,จากคนแก่ 2 หน่วย

สามารถเขียน Lifetime Budget Constraint ของประชากรได้ดังนี้ c1,t + (c2,t+1)/r ≤ y1 - 1 + (y2,t+1 - 2)/r และสมการงบประมาณของรัฐบาลเป็น gt + rbt-1 = 1 + 2 + bt หากรัฐดำเนินนโยบายลดภาษีต่อหัวของคนหนุ่มในรูปของผลผลิตลง 100 หน่วย จะทำให้เกิดความต้องการถือพันธบัตรต่อหัวของคนหนุ่มเพิ่มขึ้น

ผลกระทบจากการออกพันธบัตรต่อการลงทุน จากสมการ st = kt + bt จะได้ st =kt +bt st = 100 - c1,t = kt + 100 kt = - c1,t < 0 ประชาชนจะสามารถถือพันธบัตรได้ถ้าหากลดปริมาณการลงทุนในสินทรัพย์ทุนลง พฤติกรรมนี้เรียกว่า Crowding-out of capital

Deficit and Interest Rate การดำเนินนโยบายขาดดุลของรัฐและผลกระทบต่ออัตราดอกเบี้ย จากกฎการเท่ากันของอัตราผลตอบแทน (Rate of return equality) อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงเท่ากับผลตอบแทนส่วนเพิ่มของสินทรัพย์ทุน ปริมาณสินทรัพย์ทุนมีความสัมพันธ์ผกผันกับอัตราดอกเบี้ย รัฐบาลชักจูงให้ประชาชนหันมาถือพันบัตรโดยเพิ่มอัตราดอกเบี้ย การลงทุนในสินทรัพย์ทุนลดน้อยลง เกิด Crowding-out of capital

Neutral Government Debt การก่อหนี้ประชาชาติที่ไม่ส่งผลต่อการลงทุนในสินทรัพย์ทุน ผู้ที่ได้รับลดหย่อนในช่วงเวลา t จะถูกเก็บภาษีคืนในช่วงเวลา t+1 ตัวอย่างวิเคราะห์ – รัฐบาลใช้นโยบายการคลัง 2 รูปแบบ 1.รัฐเก็บภาษีจากคนหนุ่มในช่วงเวลา t เท่ากับรายจ่าย gt 2.รัฐไม่เก็บภาษีจากคนหนุ่ม แต่ทำการออกพันธบัตรเพื่อครอบคลุมค่าใช้จ่ายภาครัฐ bt = gt ที่ให้ผลตอบแทนในช่วงเวลา t+1 โดยที่ ณ เวลา t+1 รัฐทำการเรียกเก็บภาษีจากคนแก่ผู้ซึ่งได้รับการลดภาษีในตอนหนุ่ม ณ ช่วงเวลา t

ตารางเปรียบเทียบนโยบาย 2 แบบของรัฐ นโยบายที่ 1 1 = gt Bt = 0 2 = 0 นโยบายที่ 2 1 = 0 Bt = gt 2 = rbt ซึ่งนโยบายแบบแรก ประชาชนจะมีสมการงบประมาณเป็น c1,t + (c2,t+1)/r ≤ y1 – gt + (y2)/r ส่วนนโยบายแบบที่สองนั้น ประชาชนจะมีสมการงบประมาณเป็น c1,t + (c2,t+1)/r ≤ y1+ (y2 – rgt)/r

จากสมการงบประมาณของประชาชน c1,t + (c2,t+1)/r ≤ y1 -  1 + (y2,t+1 -  2)/r แทนค่าจากตารางนโยบายที่สองลงไปจะได้ c1,t + (c2,t+1)/r ≤ y1+ (y2 – rgt)/r - จะเห็นว่าการดำเนินนโยบายของรัฐบาลนั้นไม่ได้ส่งผลให้ประชาชนรู้สึกว่าตนเองมีความมั่งคั่งเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากส่วนเพิ่มที่ประชาชนได้รับจากการลดภาษีนั้น จะถูกนำไปฝากทั้งหมดเพื่อที่จะนำไปจ่ายภาษีในช่วงเวลา t+1 - ปริมาณการออมจะเพิ่มขึ้นเท่ากับพันธบัตรที่ออก และส่งผลให้การเปลี่ยนแปลงในการลงทุนเท่ากับ 0 (k = 0)

สรุปเนื้อหา เนื้อหาของบทนี้จะมุ่งเน้นไปที่การศึกษาว่าการสร้างหนี้ประชาชาติของรัฐบาลนั้นจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจบริโภค ออมและลงทุนของเอกชนได้อย่างไร ซึ่งผลที่ได้จากการศึกษานั้นขึ้นอยู่กับอายุของหนี้ที่ก่อขึ้นมาและกำหนดระยะในการเรียกเก็บภาษีคืนจากประชาชน ซึ่งได้ทำการวิเคราะห์มาสองกรณีได้แก่กรณีแรกที่หนี้ประชาชาติส่งผลต่อปัจจัยอื่นๆ และอีกกรณีหนึ่งที่ไม่มีผลกระทบใดๆ กรณีแรกนั้นเราวิเคราะห์การที่หนี้ประชาชาติส่งผลต่อปัจจัยในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งในกรณีนี้ประชาชนจะได้ประโยชน์จากการดำเนินนโยบายขาดดุลของภาครัฐโดยลดอัตราภาษีลงและการเรียกเก็บหนี้สินส่วนนี้คืนรัฐนั้นจะทำการเรียกเก็บกับบุคคลในช่วงเวลาอื่นๆ ซึ่งจะส่งผลให้ความมั่งคั่งเพิ่มสูงขึ้น และทำให้การบริโภคในทั้งสองช่วงเวลาของประชาชนนั้นสูงขึ้นและทำให้เกิดการลดการสะสมทุนลง แสดงให้เห็นถึงอัตราภาษีแท้จริงที่เพิ่มสูงขึ้น

THE END ???