ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
การคลังและนโยบาย การคลัง
การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
Portfolio Balance Wealth Credit Availability Expectations Open Economy
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การบริโภค การออม และการลงทุน
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การวัดการวิจัยในการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy ข้อโต้แย้งทฤษฎีการเงินของเคนส์ การปฏิวัติกลับ

ผู้โต้แย้ง เอ.ซี.พิกู ( A.C. Pigou ) ดอน พาทินกิน ( Don Patinkin ) จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley ) และ เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S. Shaw ) มิลตัน ฟรีดแมน ( Milton Friedman )

A.C.Pigou ในระบบเศรษฐกิจที่ค่าแรงและค่าแรงที่เคลื่อนไหวโดยเสรีนั้น ดุลยภาพโดยมีการว่างงานอยู่ตามข้อสรุปของเคนส์จะเป็นไปไม่ได้ จุดเน้นอยู่ที่ ผลของการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นในมูลค่าที่แท้จริงของเงิน ( real Value of Money ) ที่มีต่อการจ้างงาน แม้ว่าอัตราดอกเบี้ยจะไม่ลดลงก็ตาม ผลของทรัพย์สิน ( Wealth Effect = ผลของพิกู Pigou Effect ) ก็จะมีส่วนทำให้ระบบเศรษฐกิจบรรลุระดับการจ้างงานเต็มที่ได้

Patinkin สนับสนุนความเป็นกลางของเงิน ทฤษฎีมูลค่าและทฤษฎีปริมาณเงินของสำนักคลาสสิกมีความขัดแย้งกันเอง ( Why? Or Why not? ) แนวทางแก้ไขปัญหา การแบ่งแยกทฤษฎีทั้งสองออกจากกัน ความเป็นกลางของเงิน

ฟังก์ชันอุปสงค์ ขึ้นกับ วิเคราะห์ฟังก์ชันอุปสงค์ส่วนเกินของสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของแต่ละบุคคลในระบบเศรษฐกิจที่มีการใช้เงิน รายได้ที่แท้จริง ( Real Income ) และยอดคงเหลือที่แท้จริง ( Real Balance ) ฟังก์ชันอุปสงค์ ขึ้นกับ ราคาเปรียบเทียบของสินค้า รายได้ที่แท้จริง ยอดคงเหลือที่แท้จริง อิทธิพลของยอดคงเหลือที่มีต่ออุปสงค์ของสินค้า แต่ละบุคคลจะพิจารณาจากยอดที่แท้จริง มิใช่จากมูลค่าที่เป็นตัวเงิน

การเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่แท้จริงของปริมาณเงินในมือที่มีต่ออุปสงค์ของสินค้า – ผลของยอดคงเหลือที่แท้จริง ( Real – Balance Effect ) ถ้าราคาของสินค้าทุกชนิดเพิ่มขึ้นโดยได้สัดส่วนกัน ราคาเปรียบเทียบของสินค้าเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง จะไม่เกิดผลทางการทดแทน แต่เกิดผลทางทรัพย์สิน ( Wealth Effect ) ถ้าราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงโดยที่ชนิดอื่นคงที่ จะเกิดผลของการใช้แทน และผลทางทรัพย์สิน ซึ่งประกอบด้วย ( ผลทางทรัพย์สินที่มิใช่ทางการเงิน – Nonmonetary Wealth Effect และผลของยอดคงเหลือที่แท้จริง )

อุปสงค์ส่วนเกินต่อสินค้า และอุปสงค์ส่วนเกินต่อเงิน ( Individual’s Excess – Demand Function for Money ) อาจพิจารณาอุปสงค์ส่วนเกินโดยการพิจารณาอุปสงค์ของเงินได้ สรุป การนำยอดคงเหลือที่แท้จริงเข้ามาเป็นตัวกำหนดอุปสงค์ต่อสินค้าด้วย จึงเป็นเครื่องประกันการมีเสถียรภาพของราคา เงินมีความเป็นกลาง

จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley ) เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley ) เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S. Shaw ) การวิเคราะห์ของพาทินกินขึ้นกับการตั้งข้อสมมติฐานบางประการเกี่ยวกับองค์ประกอบของปริมาณเงิน ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริง การสร้างแบบจำลองที่มีตลาดการเงิน และสถาบันการเงินที่ไม่ซับซ้อน เงินภายใน ( Inside Money) เงินภายนอก ( Outside Money ) ระบบธุรกิจประกอบด้วยสามภาค คือ ผู้บริโภค ธุรกิจ และรัฐบาล Direct Finance and Indirect Finance

เงินในระบบเศรษฐกิจถือเป็นหนี้สินของรัฐบาล ในระบบเศรษฐกิจที่มีแต่เงินภายนอกเท่านั้น มูลค่าที่แท้จริงของเงินจะผันแปรไปในทิศทางตรงกันข้ามกับระดับราคา กรณีที่ระบบเศรษฐกิจมีแต่เงินภายในเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงระดับราคาไม่มีผลประโยชน์หรือเสียผลประโยชน์เมื่อคิดในมูลค่าที่แท้จริง ในระบบเศรษฐกิจซึ่งประกอบด้วยเงินภายนอกและเงินภายใน นโยบายการเงินจะมีความไม่เป็นกลาง