ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy ข้อโต้แย้งทฤษฎีการเงินของเคนส์ การปฏิวัติกลับ
ผู้โต้แย้ง เอ.ซี.พิกู ( A.C. Pigou ) ดอน พาทินกิน ( Don Patinkin ) จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley ) และ เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S. Shaw ) มิลตัน ฟรีดแมน ( Milton Friedman )
A.C.Pigou ในระบบเศรษฐกิจที่ค่าแรงและค่าแรงที่เคลื่อนไหวโดยเสรีนั้น ดุลยภาพโดยมีการว่างงานอยู่ตามข้อสรุปของเคนส์จะเป็นไปไม่ได้ จุดเน้นอยู่ที่ ผลของการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นในมูลค่าที่แท้จริงของเงิน ( real Value of Money ) ที่มีต่อการจ้างงาน แม้ว่าอัตราดอกเบี้ยจะไม่ลดลงก็ตาม ผลของทรัพย์สิน ( Wealth Effect = ผลของพิกู Pigou Effect ) ก็จะมีส่วนทำให้ระบบเศรษฐกิจบรรลุระดับการจ้างงานเต็มที่ได้
Patinkin สนับสนุนความเป็นกลางของเงิน ทฤษฎีมูลค่าและทฤษฎีปริมาณเงินของสำนักคลาสสิกมีความขัดแย้งกันเอง ( Why? Or Why not? ) แนวทางแก้ไขปัญหา การแบ่งแยกทฤษฎีทั้งสองออกจากกัน ความเป็นกลางของเงิน
ฟังก์ชันอุปสงค์ ขึ้นกับ วิเคราะห์ฟังก์ชันอุปสงค์ส่วนเกินของสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของแต่ละบุคคลในระบบเศรษฐกิจที่มีการใช้เงิน รายได้ที่แท้จริง ( Real Income ) และยอดคงเหลือที่แท้จริง ( Real Balance ) ฟังก์ชันอุปสงค์ ขึ้นกับ ราคาเปรียบเทียบของสินค้า รายได้ที่แท้จริง ยอดคงเหลือที่แท้จริง อิทธิพลของยอดคงเหลือที่มีต่ออุปสงค์ของสินค้า แต่ละบุคคลจะพิจารณาจากยอดที่แท้จริง มิใช่จากมูลค่าที่เป็นตัวเงิน
การเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่แท้จริงของปริมาณเงินในมือที่มีต่ออุปสงค์ของสินค้า – ผลของยอดคงเหลือที่แท้จริง ( Real – Balance Effect ) ถ้าราคาของสินค้าทุกชนิดเพิ่มขึ้นโดยได้สัดส่วนกัน ราคาเปรียบเทียบของสินค้าเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง จะไม่เกิดผลทางการทดแทน แต่เกิดผลทางทรัพย์สิน ( Wealth Effect ) ถ้าราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงโดยที่ชนิดอื่นคงที่ จะเกิดผลของการใช้แทน และผลทางทรัพย์สิน ซึ่งประกอบด้วย ( ผลทางทรัพย์สินที่มิใช่ทางการเงิน – Nonmonetary Wealth Effect และผลของยอดคงเหลือที่แท้จริง )
อุปสงค์ส่วนเกินต่อสินค้า และอุปสงค์ส่วนเกินต่อเงิน ( Individual’s Excess – Demand Function for Money ) อาจพิจารณาอุปสงค์ส่วนเกินโดยการพิจารณาอุปสงค์ของเงินได้ สรุป การนำยอดคงเหลือที่แท้จริงเข้ามาเป็นตัวกำหนดอุปสงค์ต่อสินค้าด้วย จึงเป็นเครื่องประกันการมีเสถียรภาพของราคา เงินมีความเป็นกลาง
จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley ) เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley ) เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S. Shaw ) การวิเคราะห์ของพาทินกินขึ้นกับการตั้งข้อสมมติฐานบางประการเกี่ยวกับองค์ประกอบของปริมาณเงิน ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริง การสร้างแบบจำลองที่มีตลาดการเงิน และสถาบันการเงินที่ไม่ซับซ้อน เงินภายใน ( Inside Money) เงินภายนอก ( Outside Money ) ระบบธุรกิจประกอบด้วยสามภาค คือ ผู้บริโภค ธุรกิจ และรัฐบาล Direct Finance and Indirect Finance
เงินในระบบเศรษฐกิจถือเป็นหนี้สินของรัฐบาล ในระบบเศรษฐกิจที่มีแต่เงินภายนอกเท่านั้น มูลค่าที่แท้จริงของเงินจะผันแปรไปในทิศทางตรงกันข้ามกับระดับราคา กรณีที่ระบบเศรษฐกิจมีแต่เงินภายในเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงระดับราคาไม่มีผลประโยชน์หรือเสียผลประโยชน์เมื่อคิดในมูลค่าที่แท้จริง ในระบบเศรษฐกิจซึ่งประกอบด้วยเงินภายนอกและเงินภายใน นโยบายการเงินจะมีความไม่เป็นกลาง