ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ในเรื่องปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะสำคัญของตลาดสินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
การคลังและนโยบาย การคลัง
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
นโยบายการเปิดเสรีทางการเงินโลก
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ระบบเศรษฐกิจ.
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การบริโภค การออม และการลงทุน
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy Introduction

Bennett T. McCullum เศรษฐศาสตร์การเงินเป็นการศึกษาว่าสถาบันการเงินและการดำเนินนโยบายมีผลกระทบอย่างไรต่อตัวแปรทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ราคาสินค้า ค่าแรง อัตราดอกเบี้ย และปริมาณการจ้างงาน การบริโภคและการผลิต ซึ่งจะศึกษาตัวแปรเหล่านี้ในระดับรวมและระดับย่อยต่างๆกัน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นระกว้างหรือเศรษฐกิจของทั้งระบบ Bennett T. McCullum, Monetary Economics: Theory and Policy ( New York: Macmillan Publishing Co., 1989 ), p.3.

Thomas F. Cargill เศรษฐศาสตร์การเงินเกี่ยวข้องกับ ลักษณะ หน้าที่ และอิทธิพลของสินเชื่อที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจแสดงถึงระดับระดับการจ้างงาน ผลผลิต ราคา และความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ บทบาทหน้าที่ของเงินในระบบเศรษฐกิจ ระบบการเงินและสถาบันการเงินที่มีผลต่อปริมาณเงินและสินเชื่อ อิทธิพลของเงินและสินเชื่อที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โครงสร้างและหน้าที่ของธนาคารกลาง การควบคุมปริมาณเงินและสินเชื่อโดยธนาคารกลาง เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ Thomas F. Cargill, Money, The Financial System, and Monetary Policy ( Englewood Cliffs, N.J.: Prentice – Hall, Inc., 1979 ),p3.

Robert E. Weintraub จุดมุ่งหมาย คือ การกำหนดนโยบายการเงินที่เหมาะสม ดังนั้นต้องทำการศึกษาเรื่อง สถาบันการเงิน อุปทานของเงิน ความต้องการถือเงินและอัตราหมุนเวียนของเงิน ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ประชาชาติและตัวแปรมหภาคอื่นๆกับตัวแปรทางการเงิน ความสัมพันธ์ระหว่างดุลการชำระเงินกับพัฒนาการทางการเงิน Robert E. Weintraub, Introduction to Monetary Economics ( New York : The Ronald Press Company, 1970), p.381.

ขอบเขตของเศรษฐศาสตร์การเงิน บทบาทหน้าที่ของเงินในระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์และอุปทานของเงิน ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์และอุปทาน ระบบการเงินและสถาบันการเงิน ที่มีผลต่อปริมาณเงิน กลไกและกระบวนการส่งผ่านเงิน บทบาทและหน้าที่ของธนาคารกลาง

วิวัฒนาการ Mercentilism Classic Before Keynes Keynes Monetarist David Hume : The Quantity Theory ( 1752 ) Classic Before Keynes The Great Depression : 1930 Keynes 1960 Monetarist After Keynes

ก่อนหน้าเคนส์ สำนักคลาสสิก – ทฤษฎีปริมาณเงิน – เงินมีความหมาย บทบาทของตลาด และ บทบาทของรัฐ การเปลี่ยนแปลงของระดับราคาเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเงิน --- ปริมาณเงินเป็นเครื่องกำหนดราคาสินค้า ระดับราคาแปรผันโดยตรงและได้สัดส่วนกับปริมาณเงิน ปริมาณเงินไม่ได้ส่งผลกระทบต่อตัวแปรที่แท้จริง การเปลี่ยนแปลงในตัวแปรที่ไม่ใช่ตัวแปรทางการเงินมิได้เป็นสาเหตุในการเปลี่ยนแปลงระดับราคาสินค้า ปริมาณเงินเป็นสาเหตุ ผลคือ การเปลี่ยนแปลงในระดับราคาสินค้า ปริมาณเงินอยู่ในความดูแลของธนาคารกลาง

สมัยเคนส์ ระบบเศรษฐกิจอาจเกิดดุลยภาพได้ โดยยังมีการว่างงานอยู่เป็นจำนวนมากได้ การว่างงานไม่สามารถแก้ไขให้ลดลงโดยการลดค่าแรงที่เป็นตัวเงินตามที่สำนักคลาสสิกได้กล่าวไว้ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมโดยธรรมชาติมักไม่มีเสถียรภาพ ไม่เห็นด้วยกับ Say’s Law – “อุปทานย่อมก่อให้เกิดอุปสงค์ในตัวเองเสมอ” เห็นว่า “เงินไม่มีความหมาย” ( Money does not matter ) นโยบายการเงินอย่างเดียวไม่เพียงพอที่ใช้แก้ไขปัญหาต้องใช้นโยบายการคลังร่วมด้วย

สมัยหลังเคนส์ Friedman & Schwartz : การที่เศรษฐกิจตกต่ำในปี 1930 มาจากความล้มเหลวของธนาคารกลางและความล้มเหลวในระดับระหว่างประเทศในการป้องกันวิกฤติการณ์สภาพคล่อง มิได้เกิดจาก “เงินไม่ได้มีความหมาย” เงินมีความหมาย – ทฤษฎีปริมาณเงินเป็นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความต้องการถือเงิน แต่มิใช่ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผลผลิต รายได้ที่เป็นตัวเงินหรือระดับราคา การอธิบายต้องอาศัยข้อระบุบางประการจึงนำมาใช้อธิบายได้

สมัยหลังเคนส์ ในแง่ผู้ถือทรัพย์สิน เงินเป็นเพียงสินทรัพย์ชนิดหนึ่งที่คนถือไว้เพื่อเป็นการสะสมทรัพย์สิน และในส่วนของธุรกิจ เงินเป็นปัจจัยทุน – ทรัพย์สินประกอบด้วยสิ่งต่างๆที่สามารถก่อให้เกิดกระแสรายได้ รวมทั้งสินทรัพย์มนุษย์ ความต้องการถือเงินขึ้นอยู่กับปัจจัย ทรัพย์สินทั้งหมด ราคาและอัตราผลตอบแทนของทรัพย์สินชนิดนี้ รสนิยมและความพอใจของผู้ถือทรัพย์สิน

สมัยหลังเคนส์ ลัทธิการเงินนิยม ปริมาณเงินเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อรายได้ที่เป็นตัวเงิน ในระยะยาว ปริมาณเงินจะมีอิทธิพลต่อตัวแปรอื่นๆที่เป็นตัวเงิน ตัวแปรที่แท้จริงต่างๆถูกกำหนดโดยปัจจัยที่แท้จริง ในระยะสั้นปริมาณเงินมีผลต่อตัวแปรที่แท้จริง ภาคเอกชนเป็นภาคที่มีเสถียรภาพ ความไม่มีเสถียรภาพเกิดจากการดำเนินนโยบายของรัฐที่ทำให้ปริมาณเงินเติบโตอย่างไม่มีเสถียรภาพ