อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ตัวอย่าง : ผลกระทบภายนอกจากการผลิต
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
Location Problem.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ตลาดและการแข่งขัน.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
หลักการของทุนนิยม กำไร สูงสุด ราคาขายแพงสุด ต้นทุนต่ำสุด - ผูกขาดกีดกัน คู่แข่ง - ค่าแรงต่ำสุด - ภาษีต่ำสุด - ค่าเช่า ต่ำสุด.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ราคาเงาของแรงงาน และอัตราการคิดลดสำหรับสังคม
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ต้นทุนการผลิต.
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล จะเกิดม้วนกลับ (backward-bending) ได้ในช่วงการทำงานมาก ๆ ซึ่งทำให้ Income effect > Substitution effect อย่าสับสนกับอุปทานของแรงงานรวมในตลาดที่เป็นเส้นตรงทอดขึ้นเสมอ

อุปสงค์ กำหนดจาก MRPL = MPL * MR อุปทาน กำหนดจาก AE = w ดุลยภาพของตลาดปัจจัยแข่งขันสมบูรณ์ (Equilibrium in a competition factor market) จะเกิดขึ้นเมื่อราคาทำให้อุปสงค์เท่ากับอุปทาน อุปสงค์ กำหนดจาก MRPL = MPL * MR อุปทาน กำหนดจาก AE = w

- ในกรณีตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MRPL = P * MPL - ในกรณีตลาดผูกขาด เนื่องจากตลาดผลผลิตอาจเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์หรือผูกขาด เงื่อนไขอุปสงค์ก็จะต่างกันไป - ในกรณีตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MRPL = P * MPL - ในกรณีตลาดผูกขาด MRPL = MR * MPL โดยที่ MR < P

โดยเทียบ vm กับ wm และ Lc กับ Lm แม้ว่าในกรณีตลาดผลผลิตแบบผูกขาดมีเงื่อนไขดุลยภาพเหมือนกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ แต่ MR < P ก่อให้เกิดการไร้ประสิทธิภาพทำให้เกิด 1) ค่าจ้างต่ำกว่า 2) ผลผลิตต่ำกว่า โดยเทียบ vm กับ wm และ Lc กับ Lm

ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว (Factor markets with monopsory power) ผู้ซื้อรายเดียวมีผลต่อด้านอุปทานของปัจจัย ขณะที่ไม่มีผลต่ออุปสงค์ ในตลาดปัจจัยแบบแข่งขันสมบูรณ์ ME = AE แต่ในตลาดปัจจัยที่มีผู้ซื้อรายเดียว ME > AE

ทบทวน AE คือ เส้นค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของปัจจัย (เป็นเส้น market supply curve ในกรณี monopsony) ME คือ เส้นค่าใช้จ่ายที่จ้างปัจจัยหน่วยสุดท้าย ซึ่งเป็นราคาที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้นถ้าต้องการปัจจัยมากขึ้น (slope ของ supply เป็นบวก) และต้องจ่ายราคานี้กับปัจจัยทุกหน่วยก่อนหน่วยนี้ด้วย

ME = E = P(Q) * Q Q Q ME = P(Q) + Q( P / Q) ME = AE + Q( P / Q) เนื่องจาก P เป็นบวก ดังนั้น ME > AE Q

ในการ maximize profit ของ Monopsony MRPL = ME ดังนั้น จะซื้อปัจจัยที่ L* แต่จ่ายที่ w* เพราะว่าการซื้อ L* ตามเส้น supply (AE) จะจ่ายเพียง w*

1) Monopsony ให้จ่ายต่ำกว่า 2) Monopsony ซื้อปัจจัยการผลิตน้อยกว่า เมื่อเทียบกับตลาดปัจจัยการผลิตแบบแข่งขันสมบูรณ์แล้ว จะพบว่า 1) Monopsony ให้จ่ายต่ำกว่า 2) Monopsony ซื้อปัจจัยการผลิตน้อยกว่า

แหล่งที่มาของ Monopsony power - เป็นธุรกิจที่เชี่ยวชาญด้านนี้ด้านเดียว - สภาพภูมิประเทศ - กฎหมาย - การรวมตัวเป็น cartel

ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ขายรายเดียว (Factor markets with monopoly power) ผู้ขายปัจจัยรายเดียวมีผลต่ออุปสงค์ แต่ไม่มีผลต่ออุปทาน ตัวอย่างของการผูกขาดการขายปัจจัย ได้แก่ - สหภาพแรงงาน - สิทธิบัตรชิ้นส่วน computer - เจ้าของเหมืองเพชร

ผู้ผูกขาดสามารถเลือกขายปริมาณที่ต้องการ หรือ ตั้งราคาที่ต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งได้ บนเส้นอุปสงค์ต่อปัจจัยการผลิตนั้น จุดประสงค์ของผู้ผูกขาด คือ ได้รายได้จากการขายปัจจัยสูงสุด ในกรณีของแรงงาน ก็คือ Rent ที่เป็นส่วนต่างระหว่างค่าจ้างกับต้นทุนค่าเสียโอกาสในการใช้เวลาทำงาน

เงื่อนไขที่ทำให้ Rent สูงสุด คือ marginal revenue = marginal cost ที่เกิดกับแรงงาน ของการทำงานของแรงงาน ดังนั้น จึงต้องหาเส้น MR จากเส้นอุปสงค์

marginal cost ของแรงงาน คือ ค่าจ้างที่ทำให้แรงงานแต่ละหน่วยที่เพิ่มเข้ามาทำงาน ซึ่งก็คือ เส้นอุปทานของแรงงาน นั่นเอง ดังนั้น จุดสมดุลอยู่ที่การตัดของเส้น MR กับ SL จะได้ 1) ค่าจ้างที่สูงกว่า 2) จำนวนแรงงานที่น้อยกว่า ในกรณีที่ไม่มีการผูกขาด

แต่ถ้าสหภาพแรงงานต้องการ max. total wage แทนที่จะเป็น max แต่ถ้าสหภาพแรงงานต้องการ max. total wage แทนที่จะเป็น max. rent แล้ว อาจขยายจำนวนแรงงานไปถึงจุดที่ MR = 0 เนื่องจาก MR = 0 หมายถึง TR สูงสุด แต่ w ก็จะลดลงมาด้วย

ผลกระทบของการกำหนดค่าจ้างสหภาพแรงงานที่มีต่อแรงงานนอกสหภาพ การขึ้นค่าจ้างของแรงงานในสหภาพทำให้ 1) อุปสงค์ต่อแรงงานในสหภาพลดลง 2) แรงงานในสหภาพส่วนหนึ่งตกงาน 3) แรงงานตกงานไปเพิ่มแรงงานนอกสหภาพ 4) ค่าจ้างของแรงงานนอกสหภาพลดลงเพราะอุปทานแรงงานมากขึ้น 5) อุปสงค์ต่อแรงงานนอกสหภาพเพิ่มขึ้น

การผูกขาดแบบทวิภาคี (Bilateral Monopoly) เป็นกรณีที่ผู้ขายผูกขาด (รายเดียว) ขายปัจจัยการผลิตให้กับผู้ซื้อผูกขาด (รายเดียว) ผู้ซื้อผูกขาดจะให้ราคาและซื้อปริมาณที่ MRPL = ME ส่วนผู้ขายผูกขาดจะตั้งราคาและขายปริมาณที่ MR = SL

คำตอบสุดท้ายขึ้นอยู่กับการเจรจาต่อรองของทั้งสองฝ่าย (bargaining strategies) โดยที่หากใครมีอำนาจต่อรองสูงกว่าก็จะได้คำตอบที่ใกล้กับฝ่ายตนมากเท่านั้น

Economic Rent คือ ความแตกต่างระหว่างจำนวนเงินที่จ่ายให้กับปัจจัยการผลิตกับจำนวนเงินที่ต่ำสุดที่ต้องจ่ายเพื่อให้ได้ปัจจัยการผลิตนั้นมาใช้ Economic Rent ของปัจจัยการผลิตเกิดขึ้นมาจากหลายสาเหตุ ซึ่งสาเหตุเหล่านั้นมีผลต่อลักษณะของเส้นอุปทาน นั้นคือ ถ้าอุปทานมีความยืดหยุ่นน้อยก็จะมี Rent มาก

Wage Capital per week Wage = w2 S w2 Wage = w1 w1 q1 D q2 L2 L1 L3 l2 l1 Labor per week Labor per week (a) The Market (b) Typical Firm

การเอารัดเอาเปรียบ (exploitation) จะเป็นกรณีที่แรงงานได้รับค่าจ้างต่ำกว่า Value of marginal products (VMP)