บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในวิชาเศรษฐศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ค่าของทุน The Cost of Capital
Information systems; Organizations; Management; Strategy
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ระบบเศรษฐกิจ.
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
Revision Problems.
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
Free Trade Area Bilateral Agreement
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
การผลิตและต้นทุนการผลิต
การบริโภค การออม และการลงทุน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 : บทนำ.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
คู่มือวิชาโดยสังเขป ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในวิชาเศรษฐศาสตร์ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในวิชาเศรษฐศาสตร์

เศรษฐศาสตร์คืออะไร ( What is Economics ? ) ลอร์ด ลีออนเนล รอบบินส์ : “Economics is the science which studies human behavior as a relationship between ends and scarce means which have alternative uses” พอล เอ แซมมวลสัน : “Economics is the study of how people and society choose to employ scarce resources that could have alternative uses in order to produce various commodities and distribute them for consumption, now or in the future, among various persons and groups in society”

เศรษฐศาสตร์คืออะไร ( What is Economics ? ) Stockman : Economics is the study of how a society uses its limited resources to produce, trade, and consume goods and services; also, the study of people’ s incentive and choices and what happens to coordinate their decision and activities” เศรษฐศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนทางในการใช้ทรัพยากรการผลิตอันมีอยู่จำกัด สำหรับการผลิตสินค้าและบริการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

องค์ประกอบ การเลือก ( Choices ) ทรัพยากรการผลิต ( Productive Resources ) การมีอยู่จำกัด ( Scarcity ) สินค้าและบริการ ( Goods and Services ) ความต้องการที่ไม่จำกัด ( Unlimited Wants )

ทรัพยากรการผลิต ( Productive Resources ) ที่ดิน ( Land ) ค่าเช่า ( Rent ) แรงงาน ทรัพยากรมนุษย์ ( Labor ) ค่าจ้าง ( Wage ) ทุน และเงินทุน การลงทุน ( Capital ) ดอกเบี้ย ( Interest ) ผู้ประกอบการ ( Entrepreneur ) กำไร ( Profit )

สินค้าและบริการ ( Goods and Services ) เศรษฐทรัพย์ ( Economic Goods ) สินค้าเอกชน ( Private Goods ) สินค้าสาธารณะ ( Public Goods ) สินค้าให้เปล่า ( Free of Charge Goods ) สินค้าไร้ราคา ( Free Goods )

ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ การแบ่งประเภท และความสัมพันธ์กับวิชาอื่น เศรษฐศาสตร์จุลภาค ( Microeconomics ) และเศรษฐศาสตร์หมภาค ( Macroeconomics ) เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ ( Positive Economics ) และเศรษฐศาสตร์นโยบาย ( Normative Economics ) ความสัมพันธ์กับวิชา นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ จริยศาสตร์

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและการแก้ไขปัญหาในระบบเศรษฐกิจต่างๆ ผลิตอะไร ( What ) ผลิตอย่างไร ( How ) ผลิตเพื่อใคร ( For Whom ) เกณฑ์การแบ่งระบบเศรษฐกิจ กรรมสิทธิ์เป็นของบุคคลหรือส่วนรวม การตัดสินใจในปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเป็นของบุคคลหรือส่วนรวม การจัดสรรทรัพยากรการผลิตผ่านกลไกตลาดหรือการบังคับ

ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ( Capitalism ) ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง ( Centrally Planned Economy ) ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ( Mixed Economy )

เส้นเป็นไปได้ในการผลิต ( Production Possibility Curves ) และต้นทุนค่าเสียโอกาส ( Opportunity Cost ) ค่าเสียโอกาส ( Opportunity Cost ) คือ คุณค่าหรือมูลค่า ( Value ) ของทางเลือก ( Choice ) ที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกทั้งหลายที่ต้องสละไป ( The best alternative forgone ) เมื่อมีการตัดสินใจทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งในการใช้ทรัพยากร

A B C D E ข้าว ปืน

รูปร่างของ PPC ข้าว ปืน A B C D E ปืน

ต้นทุนค่าเสียโอกาส น.ส.พิณทองชุบ คาดว่ามีแผนการจะทำในสิ่งต่อไปนี้ คือ 1. เรียนต่อ ซึ่งคาดว่าเมื่อจบแล้วจะทำรายได้ให้กับเธอ 4,000,000 บาท 2. ไปทำงานที่บริษัทดาวเทียม ซึ่งคาดว่าจะมีรายได้ทั้งหมด 5,000,000 บาท 3. นั่งเฉยๆไม่ทำอะไรเลย รอพ่อโอนสมบัติมาให้ 10,000,000 บาท เหมือนพี่ชายเธอ 4. เรียนไป และทำงานไป ซึ่งคาดว่าเมื่อเสร็จแล้วจะมีรายได้ 8,000,000 บาท ต้นทุนค่าเสียโอกาสของพิณทองชุบในแต่ละทางเลือกเป็นเท่าไร และเขาควรเลือกอะไร

ต้นทุนค่าเสียโอกาส น้องพาน ทองแท้ มีที่ดินอยู่น้อยนิดโดยคาดว่าจะขายได้วันนี้ 8 ล้านบาท แต่น้องปลื้มไม่หยุดแค่นั้น เขาคิด( ใหม่ทำใหม่ )จะทำฟาร์มงูซึ่งใช้เงินลงทุน 5 ล้านบาท โดยเชื่อว่าจะเก็บรายได้ทั้งหมด 10 ล้านบาท ในเวลา 5 ปีเช่นกัน ไม่เพียงเท่านั้น พ่อและเพื่อนของพ่อ ( ชื่อ ลุงเหนาะ ) จะขอเช่าที่ทำสหกรณ์ โดยให้รายได้เดือนละ 100,000 บาท เป็นเวลา 5 ปี นอกจากนี้ อาหนั่นจะขอที่เพื่อไปทำการปลูกองุ่นไว้ทำไวน์ ซึ่งคาดว่าจะให้ค่าเช่าทั้งสิน 6.5 ล้านบาท และหากน้องพานไม่ทำฟาร์มงู พานมีเวลาไปทำงานอื่นได้อีก 1 ล้านบาทในช่วงเวลา 5 ปีนั้น น้องพานมีทางเลือกอะไรบ้าง ต้นทุนค่าเสียโอกาสของ น้องพาน ในแต่ละทางเลือกเป็นเท่าไร และถ้าเขาฉลาดเขาควรเลือกอะไร

PPC ชี้ถึง กฎว่าด้วยการมีอยู่อย่างจำกัด การเลือก ต้นทุนค่าเสียโอกาส

การเปลี่ยนแปลงของ PPC เทคโนโลยีในการผลิต ข้อจำกัดด้านทรัพยากร ความสามารถในการผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือทั้งสองชนิดเปลี่ยนแปลงไป

เครื่องมือในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ฟังก์ชัน ( Function ) กราฟ ความชัน ค่ารวม ( Total Value ) ค่าเฉลี่ย ( Average Value ) ค่าส่วนเพิ่ม ( Marginal Value )