ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วงจรการประยุกต์ความรู้
Advertisements

นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
บทเรียนโปรแกรม Power Point
รหัส หลักการตลาด.
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ระบบเศรษฐกิจ.
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
MK201 Principles of Marketing
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Computer Application in Customer Relationship Management
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
การเงินส่วนบุคคลตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา อ.ชัชวาลย์ ชิงชัย

Adam Smith ค.ศ.1723-1790 (ปลายอยุธยา-ต้นรัตนโกสินทร์) เกิดในสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระราชโอรสพระเจ้าเสือ) พ.ศ.2251-2275 ตายในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ครองราชย์พ.ศ.2325-2352)

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9(พระราชโอรสพระเจ้าเสือ) 2251-2275(24 ปี) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ(พระราชโอรสพระเจ้าเสือ)2275- 2301(26ปี) สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร(พระราชโอรสพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)2301(2เดือน) สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์(พระเจ้าเอกทัศ)(พระราชโอรสพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ)2301-2310(9ปี)

นักปรัชญาศีลธรรมและ นักเศรษฐศาสตร์การเมืองผู้บุกเบิกชาว สกอตแลนด์ อดัม สมิธ เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกำหนดแนวคิด เศรษฐศาสตร์แนวตลาดเสรี เป็นบุคคลสำคัญในขบวนการที่เป็น ที่รู้จักในชื่อว่า "ยุคสว่างของสกอตแลนด์" (Scottish Enlightenment)

and Causes of the Wealth of Nations ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อดัม สมิท (Adam Smith) ได้เขียนหนังสือชื่อ An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations หรือที่นิยมเรียกสั้นๆว่า The Wealth of Nations ใน ค.ศ. 1776 นับได้ว่าเป็นตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรก และยิ่งใหญ่ที่สุด เล่มหนึ่งของโลกมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งทำให้อดัม สมิทได้รับการยอมรับและยกย่องให้เป็น บิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์

The Wealth of Nations เป็นหนังสือ เศรษฐศาสตร์เล่มแรกกล่าวถึงทำอย่างไรประเทศจึงจะร่ำรวย พูด ถึงเรื่องกลไกสำคัญที่เชื่อมโยงระหว่างสังคมกับธุรกิจให้ ผลประโยชน์ร่วมกัน เรื่องกลไกของตลาด การกำหนดมูลค่าของ ราคาสิ่งของ การบริหารการคลัง การกระจายรายได้ การค้า ระหว่างประเทศ

Book One: Of the Causes of Improvements in the Productive Powers of Labour, and of the Order according to which its Produce is naturally distributed among the different Ranks of the People Book Two: Of the Nature, Accumulation, and Employment of Stock Book Three: Of the different Progress of Opulance in different Nations Book Four: Of Systems of Political Economy

ทุนนิยม (capitalism) เป็นระบบเศรษฐกิจที่ซึ่งผลิตภัณฑ์และสินค้ามีการ จำหน่าย แลกเปลี่ยนซื้อขายโดยทางเอกชน บริษัท หรือ กลุ่มธุรกิจ เพื่อสร้างผลกำไรให้กับหน่วยงาน โดยการ แลกเปลี่ยนสินค้าและการบริการ ที่มีการรองรับทาง กฎหมายและมีการแข่งขันการในเชิงการค้าเพื่อทำกำไร สูงสุดซึ่งไม่ได้ควบคุมโดยหน่วยงานกลางหรือจากทาง รัฐบาล

ทุนนิยมจะกล่าวถึง ทุนและที่ดินเป็นสมบัติส่วนบุคคล การ ตัดสินใจทางเศรษฐกิจเป็นกิจกรรมส่วนบุคคล ไม่ใช่การ ควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเป็น ตัวกำหนดราคา ควบคุมและระบุทิศทางการผลิต รวมถึงเป็นที่ สร้างรายรับ บางคนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันของโลก ตะวันตกคือระบบทุนนิยม ในขณะที่หลายคนมองว่าในบาง ประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจแบบผสม กล่าวคือ มี ลักษณะเฉพาะของทั้งทุนนิยมและรัฐนิยม

เสรีนิยม (Liberalism) หมายถึง อุดมการณ์หรือ ความคิดทางการเมืองที่มุ่งให้สิทธิเสรีภาพแก่ปัจเจกบุคคล อย่างเต็มที่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย หลักการพื้นฐานของ เสรีนิยม ได้แก่ สิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิในชีวิต และทรัพย์สิน (right of life, property) ความ เสมอภาคสำหรับทุกคนภายใต้กฎหมาย การปกครองโดยการ เห็นชอบจากประชาชนโดยกระบวนการเลือกตั้ง ความโปร่งใส ในการปกครองบ้านเมือง

แนวความคิดเสรีนิยมเชื่อว่า โดยพื้นฐานมนุษย์นั้นมิได้ เป็นคนเลว แต่มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีเหตุผล ดังนั้น ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ การเมือง รวมถึง สันติภาพระหว่างประเทศจึง เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ นักเสรีนิยมเชื่อว่าความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นเป็นเรื่องการมุ่งแสวงหาการพึ่งพาระหว่างกัน มากกว่าแสวงหาความมั่นคงทางอำนาจ ดังนั้นจึงเป็นที่มาของ การสร้างสถาบันระหว่างประเทศร่วมกัน รวมถึงจารีต แนว ปฏิบัติระหว่างประเทศเพื่อรักษาสันติภาพระหว่างรัฐให้คงอยู่

ลัทธิบริโภคนิยม(consumerism) หมายถึง ลัทธิที่ให้ ความสำคัญกับการเสพย์ การซื้อและบริโภควัตถุ ข้าวของ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ โดยให้ความสำคัญกับ เงินมากกว่าคุณค่าทางจิตใจ

ลักษณะของลัทธิบริโภคนิยม ๑.ทัศนคติที่จะใฝ่เสพมากกว่าใฝ่ผลิต ความสุขต้องได้มาจาก การเสพ ๒.พฤติกรรมแบบอวดมั่งอวดมี ๓.ระบบการทำให้ทุกอย่างกลายเป็นสินค้า ลัทธิบริโภคนิยมจึงเป็น ลัทธิของสำเร็จรูป ได้มาอย่างง่าย ๆ ไว ๆ ไม่ต้องผลิต ใช้เงินซื้อไม่ต้องอาศัยการปฏิบัติหรือการลง แรง