วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
รายงานธุรกิจ.
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Image Coordinates, Geometric Correction & Image Geo-referencing
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Google Maps.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การใช้บริการกูเกิล (Google) 1 การใช้บริการ Gmail 2 การใช้บริการ รูปภาพ บนเว็บ Google 3 การใช้บริการ Google Earth.
By…Porta Boonyatearana
การวางแผนและการดำเนินงาน
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(Global Positioning System)
การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
Google Application โดย บรรพต พิจิตรกำเนิด
เริ่มต้น Photoshop CS5.
การออกแบบการวิจัย.
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
What Is GIS? GIS เป็นคำย่อจาก Geographic Information System
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการรังวัดได้อย่างง่ายๆ
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
โปรแกรม Microsoft Access
อภิชาติ สุวรรณมณี ศูนย์จัดการต้นน้ำที่ 2
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดินแห่งชาติ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
เทคนิควิธี การซ้อนภาพให้ดูเนียน ด้วย โปรแกรม PhotoShop
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
1 ซอฟท์แวร์ที่ น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวรัชดา ณรงค์ ns B06.
การวิเคราะห์เชิงพื้นที่
เริ่มต้น Photoshop CS5.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
หลักการเขียนโครงการ.
ความชันและสมการเส้นตรง
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การใช้โปรแกรม Arc View 3.1
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำ geo-referencing และการปรับแก้เชิงเรขาคณิต Image Rectification ให้กับภาพด้วย ArcMap

วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต ขจัดความเพี้ยนในทางเรขาคณิตของภาพ เพื่อการทำแผนที่ เพื่อเป็นข้อมูลการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ได้  multi-temporal analysis  Spatial analysis  Mosaic

โปรแกรมที่ใช้ ArcGIS โดยทำที่ ArcMap และเรียกใช้ Extension : Georeferencing

เรียกโปรแกรม ArcMap

Click เลือกการเพิ่มข้อมูลเข้าไป สามารถนำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ต่างๆ รวมทั้งข้อมูลภาพ

ตัวอย่างข้อมูลภาพสแกนแผนที่ภูมิประเทศที่เป็น JPEG ไฟล์

ถ้าข้อมูลภาพที่เรียกมาไม่มีข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการแสดงข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับลักษณะเชิงพื้นที่ ก็จะมีข้อความเตือนเพื่อให้ทราบว่ากำลังทำงานอยู่กับข้อมูลที่ยังไม่สมบูรณ์

Georeferencing สามารถทำได้สองลักษณะคือ อ้างอิงพิกัดภาพที่ต้องการกำหนดพิกัดทางแผนที่ให้เข้ากับอีกภาพหนึ่งที่มีระบบพิกัดอ้างอิงไว้กับแผนที่แล้ว วิธีนี้เรียกว่า Image-to-Image Registration (ภาพอ้างอิงไม่จำเป็นต้องมีพิกัดทางแผนที่ก็ได้ หากเป็นการปรับภาพเข้าหากันเพื่อการวิเคราะห์เชิงพื้นที่) อ้างอิงพิกัดภาพที่ต้องการกำหนดพิกัดทางแผนที่ให้เข้าได้กับพิกัดของแผนที่อ้างอิง  Image-to-Map วิธีการนี้ต้องหาสมการแสดงความสัมพันธ์กันระหว่างพิกัดของภาพที่ต้องการกำหนดพิกัดกับภาพอ้างอิง ซึ่งต้องใช้จุดที่ทราบพิกัดของทั้งสองจำนวนหนึ่งที่เรียกว่าจุดควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Points; GCPs)

ตัวอย่าง ต้องการกำหนดระบบพิกัดของภาพถ่ายจากดาวเทียมให้อยู่ในระบบพิกัดของแผนที่ภูมิประเทศ L7017 มาตราส่วน 1:50,000 มีข้อมูลภาพที่ต้องใช้คือ ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat บริเวณครอบคลุมบางส่วนของกรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลภาพ 6 ชั้นข้อมูล (TM band 1,2,3,4,5, และ 7 ข้อมูลสแกนแผนที่ภูมิประเทศ

Click ขวาเพื่อเลือก Extension : Georeferencing

Tools for Image Georectification ที่ภาพถ่ายจากดาวเทียม ให้ใส่จุดควบคุมภาคพื้นดิน (GCP) สามารถดูตาราง GCP ที่กำหนดไปได้เพื่อดูผลประเมินความถูกต้องของสมการในรูป RMS ที่มีหน่วยตามข้อมูลอ้างอิง

+ กำหนดจุด GCP ที่เห็นได้ชัดเจนในภาพ และในแผนที่ เช่น จุดตัดถนน สามารถ click ขวา เพื่อป้อนพิกัด x,y ของแผนที่ หรือ ลากไปหาภาพสแกนแผนที่เพื่อกำหนดจุดในแผนที่

ที่ Layers สามารถเลือกซูมดูแผนที่และหาบริเวณที่เป็นจุดเดียวกับ GCP ของภาพ หากค้นหาจุดดังกล่าวพบแล้ว ไปที่ Icon กำหนดจุด GCP +

ลักษณะของภาพถ่ายจากดาวเทียมที่ต้องการทำ Georeferencing

ลักษณะของแผนที่อ้างอิงพื้นที่บริเวณเดียวกัน

จุด GCPs ที่ใช้ทำ Georeferencing

ตารางแสดง GCPs ที่ใช้ในการทำ Georeferencing

ตารางแสดง GCPs ที่ใช้ในการทำ Georeferencing และผลการประเมินความถูกต้องแสดงเป็น RMSE

ค่า RMSe ที่แสดงถึงความคลาดเคลื่อนสูง

ตัดจุด GCPs บางจุดที่ทำให้ค่า RMSe สูง

ค่า RMSe ที่แสดงถึงความคลาดเคลื่อนลดลงเมื่อตัด GCP ที่ให้ค่า error สูงออกไป 1 จุด

ค่า RMSe ที่แสดงถึงความคลาดเคลื่อนลดลงมากเมื่อตัด GCP ที่ให้ค่า error สูงออกไปอีก 1 จุด จนยอมรับผลได้

ภาพถ่ายจากดาวเทียมที่ Georeferenced แล้ว สามารถซ้อนทับแนบสนิทกับ Topographic map

เลือก properties ของ layer ภาพถ่ายจากดาวเทียม

กำหนดใน properties ของ layer ภาพถ่ายจากดาวเทียมให้แสดง % Transparent ที่ต้องการ

ภาพถ่ายจากดาวเทียมซ้อนทับแนบสนิทกับ Topomap

ขั้นตอนต่อไป ท่านสามารถใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมในการวัดหาหรือแปลตีความหมายได้ ผลที่ได้จะเป็นข้อสนเทศที่อยู่บนพิกัดของแผนที่ สามารถทำการปรับแก้ภาพถ่ายจากดาวเทียมตามต้องการอย่างถาวรได้เลย โดยการทำ Rectify ที่สามารถกำหนดความละเอียดของภาพ (ขนาดของจุดภาพ) ได้

Pixel Resolution ขนาดครอบคลุมพื้นที่เทียบเท่าของ 1 จุดภาพ Resampling การกำหนดค่า DN ให้กับภาพ Image File Name