แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หมวด2 9 คำถาม.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์การตามหลักธรรมาภิบาล เสริมสร้างมาตรการ / กลไก เพื่อรองรับการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน S1 มีการให้บริการข้อมูลเพื่อรองรับ ประชาคมอาเซียน.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การรายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) และตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มอำนวยการ.
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
การกำหนด การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 นำไปสู่การปฏิบัติ แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 นำไปสู่การปฏิบัติ วันอังคารที่ 6 มีนาคม 2555 โดย กลุ่มยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล สำนักบริหารยุทธศาสตร์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

กรอบการนำเสนอ ● ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ ● ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ ● การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผน ปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน ● การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงาน ● การรายงานผลการปฏิบัติงาน

การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 20 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง 10 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ตัวชี้วัดตามภารกิจของ สมอ.

การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ 10 1.การเสริมสร้างขีดความ สามารถในการแข่งขันของธุรกิจอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างขีดความสามารถให้แข่งขันได้ในระดับสากล ธุรกิจอุตสาหกรรมในกลุ่มสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมายได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก 3.1 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น 5 - 15 2. การพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมให้ยั่งยืน 1. อุตสาหกรรมชุมชนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานและสามารถดำเนินอย่างยั่งยืน 3.2 ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) เทียบกับจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการตรวจ 96.08 98.08

การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ / ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของ สมอ. 20 1 พัฒนามาตรฐานที่สามารถตอบสนองความต้องการของทุกภาคส่วนและได้รับการยอมรับ 1.1 มาตรฐานที่กำหนดสอดคล้องและทันกับความต้องการ 1.2 มาตรฐานมีความทันสมัย 1.3 กระบวนการกำหนดมาตรฐานมีความรวดเร็ว 4.1 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท 10 67.60 78

การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ / ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของ สมอ. 20 2 พัฒนาระบบการตรวจสอบและรับรองให้สอดคล้องกับแนวทางสากล 2.1 ผลการตรวจสอบและรับรองได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและลดความซ้ำซ้อน 2.2 ผู้บริโภคได้รับความเป็นธรรมและมีความปลอดภัย 4.2 จำนวนระบบงานที่ขยายขอบข่ายการรับรองเพิ่มขึ้น 5 - 3 ระบบ

การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรสู่แผนปฏิบัติการและตัวชี้วัดตามแผน ประเด็น ยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลงาน ปี 2554 เป้าหมาย ปี 2555 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ / ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของ สมอ. 20 3 สร้างความตระหนักในความสำคัญของการมาตรฐานแก่ภาครัฐ ธุรกิจ และสังคม 3.1 ทุกภาคส่วนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดำเนินงานด้านการมาตรฐานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ 4.3 จำนวนมาตรฐานที่มีผู้ยื่นคำขอ 5 660 666

รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนน

ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น (ร้อยละ 4) (เป็นตัวชี้วัดร่วมกับ กสอ.) คำอธิบาย : สมอ. วัดผลสำเร็จจากร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการพัฒนายกระดับ การผลิตและการจัดการตามมาตรฐานสากล และผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนแล้วสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมที่ประกอบการอยู่ ให้มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น คำนิยาม : ผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น พิจารณาจากดัชนีชี้วัดต่างๆ ตัวใดตัวหนึ่ง ดังนี้ 1. มีการลดการสูญเสียต่อหน่วยลงได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 2. มีการลดต้นทุนการผลิตต่อหน่วยลงได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 6 3. มีมูลค่ายอดขายเพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 9 โดยเป็นผลโดยตรงจากการที่ผู้ประกอบการมารับบริการหรือเข้าร่วมกิจกรรมฯ

ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น (ร้อยละ 4) สูตรการคำนวณ ผลรวมของจำนวนสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมที่ได้รับการพัฒนาของทั้ง 2 กรมที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น x 100 ผลรวมของจำนวนสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาของทั้ง 2 กรม เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 3.1 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น 5 7.5 10 12.5 15

ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชุนเทียบกับผลิตภัณฑ์ชุมชนทีได้รับการตรวจ (ร้อยละ 3) คำอธิบาย : วัดผลสำเร็จจากร้อยละของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนที่ยื่นคำขอรับการรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน และ สมอ. ได้ดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้การรับรองจน เสร็จสิ้น สูตรการคำนวณ จำนวนผู้ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนทั้งหมด (ราย) x 100 จำนวนผู้ที่ได้รับการตรวจสอบจนเสร็จสิ้นตามขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อให้การรับรอง (ราย)

ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชุนเทียบกับผลิตภัณฑ์ชุมชนทีได้รับการตรวจ (ร้อยละ 3) เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 3.2 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการตรวจสอบตามขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อการรับรอง 94.08 95.08 96.08 97.08 98.08

ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท 4. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของ สมอ. ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท คำอธิบาย : สมอ. จะกำหนดมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการตามแผนแม่บทด้านการกำหนดมาตรฐาน (2554-2558) ประจำปี 2555 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่กำหนดในปี 2555 X 100 จำนวนมาตรฐานในแผนแม่บทด้านการกำหนดมาตรฐาน ปี 2555 สูตรการคำนวณ

ตัวชี้วัดระดับกรม ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 58 ระดับ 2 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 63 ระดับ 3 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 68 ระดับ 4 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 73 ระดับ 5 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท = 78

ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 4.2 จำนวนระบบงานที่ขยายขอบข่ายการรับรองเพิ่มขึ้น คำอธิบาย : ระบบงาน หมายถึง ระบบงานตามมาตรฐานสากลที่ สมอ. มีความพร้อมให้การ รับรองเพิ่มขึ้นจากที่ให้บริการเดิม ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 - 2 3 การขยายขอบข่ายการรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น 1 ระบบ 4 การขยายขอบข่ายการรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น 2 ระบบ 5 การขยายขอบข่ายการรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น 3 ระบบ

ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 4.3 จำนวนมาตรฐานที่มีผู้ยื่นคำขอ ตัวชี้วัดที่ 4.3 จำนวนมาตรฐานที่มีผู้ยื่นคำขอ คำอธิบาย : มาตรฐานที่มีผู้มายื่นคำขอ หมายถึง มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ สมอ. กำหนดมาตรฐานแล้วเสร็จและมีผู้ประกอบการอุตสาหกรรมได้รับใบอนุญาต ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = 654 มาตรฐาน 2 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = 657 มาตรฐาน 3 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = 660 มาตรฐาน 4 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = 663 มาตรฐาน 5 จำนวนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่มีผู้ได้รับอนุญาต = 666 มาตรฐาน

การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงานระดับสำนัก ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน มอบหมายหน่วยงาน รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 มิติภายนอก ● การประเมินประสิทธิผล 70 60 1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 20 1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง 15 1.2 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญ / พิเศษของรัฐบาล ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง 10

การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงานระดับสำนัก ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน มอบหมายหน่วยงาน รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 ● การประเมินประสิทธิผล 60 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 10 3.1 ร้อยละของจำนวนสถานประกอบการที่มีผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น (วัดผู้เข้าร่วมโครงการ TLC และผู้ได้รับการรับรอง มผช.) 15 7.5 12.5 สบช. สสพ. สบย. 3.2 ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชุนเทียบกับผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับการตรวจ 98.08 94.08 95.08 96.08 97.08 สบช. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของ สมอ. 20 4.1 ร้อยละของการกำหนดมาตรฐานตามแผนแม่บท 78 58 63 68 73 สบ.1-4 สรบ. สพค.

การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงานระดับสำนัก ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน มอบหมายหน่วยงาน รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 ● การประเมินประสิทธิผล 60 4.2 จำนวนระบบงานที่ขยายขอบข่ายการรับรองเพิ่มขึ้น - สรบ. 4.3 จำนวนมาตรฐานที่มีผู้มายื่น คำขอ 666 654 657 660 663 สบ.1-4 สสพ. ● การประเมินคุณภาพ 10 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ( ผู้ได้รับการรับรอง มอก. , รับรองระบบงาน รับรอง มผช.) 7 85 65 70 75 80 สบย. 6 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย

การถ่ายทอดเป้าหมายองค์กรสู่หน่วยงานระดับสำนัก ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เป้าหมาย ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน มอบหมายหน่วยงาน รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 มิติภายใน ● การประเมินประสิทธิภาพ 30 15 7 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต สบก. 8 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน 95 85 87.5 90 92.5 ทุกสำนัก 9 ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย 100 80 สบ.1-4 สรบ. สพค. สบช. สสพ. สบป. สบย. ● การพัฒนาองค์กร 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ