สิทธิมนุษยชน กับ ความหลากหลายทางเพศ
หลักการ “สิทธิมนุษยชน” หลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าเท่ากัน หลักความเสมอภาคเท่าเทียม การไม่เลือก ปฏิบัติ เพราะเหตุแห่งความแตกต่างใดๆ หลักสันติวิธี การไม่ใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ
หน้าที่ของรัฐในเรื่องสิทธิมนุษยชน ให้ความเคารพ (Respect) ให้การปกป้องคุ้มครอง (Protect) ให้การส่งเสริมเผยแพร่ (Fulfill)
“สิทธิมนุษยชน” มีกำกับไว้ในหลายระดับ ในระดับนานาชาติ ในระดับภูมิภาค ในระดับประเทศ เช่น รัฐธรรมนูญ และกฏหมายว่าด้วยสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะ ในระดับมลรัฐ หรือ จังหวัด และแม้แต่ระดับอำเภอและ ชุมชน
กฎหมาย “สิทธิมนุษยชน” ในระดับสากล มี 3 สนธิสัญญา ได้แก่ UDHR ICCPR ESCR เพิ่มเติมคือ CEDAW
กฎหมาย“สิทธิมนุษยชน” ประเด็นเฉพาะ เหตุที่ต้องเพิ่มเติมเพราะบางกลุ่มเผชิญวิธีการและรูปแบบการละเมิดสิทธิ ทำให้เกิดความจำเป็นที่จะมีกฎหมายที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของกลุ่ม นั้น เช่น สนธิสัญญา CEDAW, MIGRANT WORKERS เอกสารที่ยังไม่เป็นสนธิสัญญา แต่เป็นการสร้างหลักการความเข้าใจ ปัจจุบัน มี Yogyakarta Principles ซึ่งคือการยึดหลักการ ปฏิญญาสากลนั่นเอง แต่เสนอรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับประเด็นความ หลากหลายทางเพศ
ประเทศที่การรักเพศเดียวกันถือเป็นความผิดอาญา
สถานการณ์การละเมิดทั่วโลก แตกต่างกันในแต่ละประเทศ บางประเทศ 1. มีกฎหมายห้าม โดยมีบทลงโทษ 2. ไม่มีการพูดถึงประเด็นนี้ในกฎหมาย 3. มีกฎหมายคุ้มครองห้ามการเลือกปฏิบัติ 4. มีกฏหมายรับรองชีวิตคู่ 5. มีกฎหมายให้เปลี่ยนเพศได้
สถานการณ์ในประเทศต่างๆ 2553
กลไก “สิทธิมนุษยชน”ในประเทศไทย 1. รัฐธรรมนูญ ปี 2550 มีเจตนารมย์ ของ มาตรา 30 แต่ไม่มีกฏหมายลูกที่นำไปสู่ระดับปฎิบัติ การ 2. มีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 3. Ombudsman 4. กรมคุ้มครองสิทธิ 5. ความผูกพันธ์ของรัฐต่อกลไกระหว่างประเทศ
จดหมายกระทรวงสาธารณสุขรับรองว่าการรักเพศเดียวกันไม่ใช่ปัญหาสุขภาพจิต
เจตนารมย์รัฐธรรมนูญ มาตรา 30
มาทำความเข้าใจเรื่องความหลากหลายทางเพศกัน การที่คนในสังคมมีความหลากหลายในสองด้าน 1. ความรู้สึกผูกพันธ์ต้องการสร้างความสัมพันธฺกับคน เพศใด (Sexual Orientation ย่อว่า SO) 2. อัตตลักษณ์ หรือ ตัวตนของคนนั้น (Gender Identity ย่อว่า GI) 3. Sex – biology – intersex 4. สังคม vs Self identity