สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Knowledge Management (KM)
ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
การจัดการองค์ความรู้ และประสบการณ์คณะแพทยศาสตร์
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
Knowledge Management (KM)
การจัดการความรู้ KM คืออะไร?
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การสร้างทีมงานและเครือข่าย การประสานงานเพื่อปฏิบัติงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
Communities of Practice (CoP)
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
คณะทำงานจัดการองค์ความรู้
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
การถอดบทเรียน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7 BEST PRACTICES สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7

เป้าหมายของ KM ความต้องการดึงความรู้ในตัวผู้ปฏิบัติ ซึ่งเป็น Tacit Knowledge ให้กลายเป็น Explicit Knowledge หรือความรู้ที่ปรากฏชัดแจ้ง เพื่อสร้าง Best Practice หรือวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการทำงาน ให้บุคคลอื่นได้ ทดลองนำไปใช้

Best Practice เป็นบทสรุปของวิธีการปฏิบัติที่เป็น Tacit K ซึ่งเผยแพร่เป็น Explicit K เพื่อให้ผู้อื่นได้ ทดลองนำไปปฏิบัติ คือ วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ สำเร็จ ซึ่งเป็นผลมาจากการนำความรู้ไปปฏิบัติ จริง แล้วสรุปความรู้และประสบการณ์นั้นเป็น แนวปฏิบัติที่ดีที่สุดของตนเอง บูรชัย ศิริมหาสาคร

การทำCOPโดยใช้Storytelling เน้นที่ TK มากกว่า EK เน้นประสบการณ์ที่ ได้จากการปฏิบัติมากกว่าตำราหรือทฤษฎี เน้นการดึงความรู้จากผู้ปฏิบัติงานกับ ผู้ปฏิบัติงาน ไม่ใช้หวังจากวิทยากร เน้นความรู้จากการทำงานผู้ปฏิบัติ เพื่อสร้าง BP

Tacit K To Explicit K ใช้ CC ส่งนักถอดรหัสไปถอดความรู้มา รวบรวม บันทึก ศัพท์ ในองค์กร ฝึกพูด เขียน วาดรูป ทำหนัง ฯ จัดทำคู่มือการทำงาน สะสมกรณีศึกษา ทำกระดานถาม-ตอบ

Dialogue “in Practice”

วงเล่า ไร้แอลกอฮอล์ ฟังเชิงลึก Story Telling จริงใจ เปิดใจ ปิดใจ เกิดเกลียวความรู้ ฟังเชิงลึก นำไปขบคิด เปิดใจ (แลกหมัด) ปิดใจ ตาบอดยังไม่ได้ คลำช้าง

Deep Listening เกิดการคว้าจับ Tacit K

กติกา ปิดโทรศัพท์มือถือ ไม่ควรมีการพูดคุยย่อยหรือคุยซุบซิบกันในกลุ่ม จะต้องเป็น one meeting วาง หัวโขนตำแหน่งงาน ถือว่าสมาชิกทุกคนมีความเท่าเทียมกัน สร้างบรรยากาศที่ เปิดกว้าง(openness) และเป็นอิสระ พูดทีละคน สมาชิกที่เหลือฟังอย่างตั้งใจ และ“แขวน /วาง”กรอบความคิด และการ ตัดสินใจ ในการพูดนั้นพูดต่อกลุ่มทั้งหมด ไม่เป็นการพูดตรงไปยังคนใดคนหนึ่งเฉพาะ หลักการเปิดพื้นที่ ให้ทุกคนมีโอกาสพูดอย่างเท่าเทียมกัน และไม่ครอบครองการพูด ไม่มีการมุ่งหาข้อสรุป ตัดสิน หรือตกลง ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และไม่ตัดสินใจความคิดเห็น ว่าผิด/ถูก ดี/ไม่ดี ใช้ได้/ไม่ได้ อื่นๆ ต้องไม่พยายามโน้มน้าวให้คนอื่นคล้อยตามความคิดของเรา พูดในสิ่งที่เป็นคุณประโยชน์ สร้างสรรค์ความสมานสามัคคี และมีไมตรีจิตต่อกัน ไม่วิพากษ์คำพูดหรือความคิดของใคร และต้องไม่ใช้คำพูดว่า “ใช่ แต่ว่า (ตามด้วย ประโยคที่บ่งบอกว่าความคิดที่พูดมานั้น ใช้ไม่ได้)” ให้ใช้คำพูดว่า “ใช่ และ…… (เพื่อ ขยาย หรือเสริมต่อความคิด)”

After Dialogue เรารู้สึกภายในตัวเราถึงการฟังอย่างตั้งใจ เปิดใจ รับฟัง รับรู้ต่อความคิดอื่นอย่าง แท้จริง (ฟังอย่างมีสมาธิ และจิตจดจ่อในการฟัง) เรารู้สึกถึงแรงกระตุ้นที่อยากจะเข้าไปโน้มน้าว หรือรู้สึกถึงการตัดสินในความคิด เห็นของคนอื่น เรารู้ถึงความคิดของคนอื่นที่โลดแล่นอยู่ในใจของเรา เรารับรู้ถึงกรอบความคิดของตัวเรา และได้เราละวางโดยไม่ตัดสิน เราได้รับความคิดจากกลุ่ม ที่นึกไว้ในใจว่าอาจจะนำไปปรับใช้ของเรา สมาชิกในกลุ่มของเรา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในประเด็นที่ลุ่มลึก เรารู้สึกถึง“การไหล”ของกระแสความหมาย (ความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก) เราเข้าใจเพื่อนในกลุ่มมากขึ้น ในกลุ่มของเรามีการปฏิบัติกับสมาชิกทุกคน ด้วยความเคารพ ในฐานะอันเป็น เกียรติอย่างเท่าเทียม ในกลุ่มของเรามีบรรยากาศของการเสริมสร้าง รู้สึกกลมเกลียว สมานฉันท์ (Win- Win) เกิดขึ้น เรารู้สึกรู้จักกันและกันมากขึ้น

แบบบันทึกความรู้เรื่อง..................................... กลุ่มที่................... ชื่อกลุ่ม.......................... รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม คุณอำนวย............................................................. คุณลิขิต .............................................................. คุณกิจ .............................................................

บันทึกการเล่าเรื่อง [StoryTelling] เรื่องที่ ....................................................................................................... ....................................................................................................... .......................................................................................................

เรื่องเล่า ขุมความรู้ แก่นความรู้ กรณีตัวอย่าง เรื่องเล่า ขุมความรู้ แก่นความรู้ กรณีตัวอย่าง ความรู้ที่ได้จากเรื่อง สรุปเป็นหลักการ DATA Knowledge Concept ภูมิปัญญา นวัตกรรม

JIGSAW ตัวต่อแต่ละตัว เปรียบได้กับความรู้ชิ้นเล็กๆ ซึ่งเกิดจากประสบการณ์อันหลากหลายของผู้ปฏิบัติแต่ละคน